ปฏิบัติการเคมีสำหรับวิศวกร

Chemistry Laboratory for Engineers

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 รู้จักอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติการทางเคมี
1.2 มีทักษะในการใช้อุปกรณ์  และเครื่องมือในการปฏิบัติการทางเคมี
1.3 มีทักษะในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการชั่ง-ตวงทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณสารสัมพันธ์ การเตรียมสารละลายและการคำนวณหาความเข้มข้น สมบัติของก๊าซ โครงสร้างของผลึกสามัญบางชนิด สมบัติของของเหลว ความหนืดของของเหลว สมบัติคอลลิเกทิฟของสารละลาย คอลลอยด์ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนิก ปฏิกิริยาของกรด เบส เกลือ
1.4 พัฒนาทักษะและจิตพิสัยในการปฏิบัติงานด้านการทดลองที่เป็นระบบ
1.5 พัฒนาเจตคติที่ดีต่อการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2.1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและฝึกทักษะทางเคมีมากขึ้น
2.2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการชั่ง-ตวงทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณสารสัมพันธ์ การเตรียมสารละลายและการคำนวณหาความเข้มข้น สมบัติของก๊าซ โครงสร้างของผลึกสามัญบางชนิด สมบัติของของเหลว ความหนืดของของเหลว สมบัติคอลลิเกทิฟของสารละลาย คอลลอยด์ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนิก ปฏิกิริยาของกรด เบส เกลือ
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ชั้นหนึ่ง ตึกปฏิบัติการกลาง
3.2  e-mail; ynkeereeta@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การปฏิบัติการการทดลอง การบันทึกผลและรายงานผลการทดลอง การแต่งกายและตรงต่อเวลา
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- ไม่มีการทุจริตในการทดสอบและการคัดลอกรายงานผลการทดลอง
- ประเมินผลจากการสังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การปฏิบัติการการทดลอง การแต่งกายและตรงต่อเวลา
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- มอบหมายให้ศึกษาบทปฏิบัติการและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- มีการบรรยายแนะนำขั้นตอนที่สำคัญในการทดลองให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้ซักถามก่อนเข้าทำปฏิบัติการเพื่อให้ผู้เรียนได้ทำปฏิบัติการด้วยความมั่นใจและมีความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
- หลังจากทำการทดลองและส่งรายงานแก่อาจารย์ผู้คุมจะมีการอภิปรายที่เกี่ยวข้องกับการทำการทดลองที่ทำในวันนั้นเพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจยิ่งขึ้นและสามารถที่จะศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตัวเองได้จากสื่อต่างๆที่มีอยู่
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากผลการทดสอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ของปฏิบัติการต่างๆอย่างเป็นระบบ
- ทำการจัดเก็บข้อมูลให้ถูกต้องอย่างเป็นระบบ
- ทำการวิเคราะห์ข้อมูล/คำนวณ (ถ้ามี )
- ทำการสรุปผลการทดลองและเขียนรายงาน
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาพร้อมทั้งค้นคว้าเพิ่มเติม
- ประเมินผลจากรายงานผลการทดลอง และการตอบปัญหาในชั้นเรียน
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการทำบทปฏิบัติการ
- มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
- การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
-ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีการอธิบายวิธีการปฏิบัติการทดลอง และ/หรือ การคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎี
- มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น
- การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบายการอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC202 ปฏิบัติการเคมีสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 5.2 ทดสอบแบบข้อเขียน 17 20%
2 1.3, 3.1, 4.3, 5.2 การนำเสนองาน ปฏิบัติการทดลอง, การบันทึกผลการทดลอง และรายงานการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 2.1, 3.1, 4.3, 5.2 ทดสอบภาคปฏิบัติแบบกลุ่ม 2, 9, 11 20%
1.   พรทิพย์  ศัพท์อนันต์.  2533. ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี  
             พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 121 น.
2.   ภาควิชาเคมี.  2544. คู่มือการสอนปฏิบัติการ.  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 55 น.
3.  ภาควิชาเคมี.  2539. ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เล่ม1.  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 72 น.
4.  ภาควิชาเคมี.  2538. ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เล่ม2.  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 91 น.
5.  ภาควิชาเคมี.  2545. ปฏิบัติการเคมีเบื้องต้น. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 98 น.
6.  ภาควิชาเคมี. 2545. ปฏิบัติการเคมีสำหรับวิศวกร.  คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 126 น.
7.  ภาควิชาเคมี. 2545. ปฏิบัติการเคมี1. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 109 น.
 
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน  2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
รวมทั้งจากผลการประเมินของนักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4  5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย