การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้ 
- มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 
- มีความรู้ ความเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ของภาษาในการเขียนโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง 
- สามารถนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้ 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางการเขียนโปรแกรมพื้นฐานเบื้องต้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการแก้ปัญหา สามารถนำาความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชามาเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย เพื่อประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษาต่อไป 
 
ศึกษาหลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การเขียนขั้นตอนวิธีและเขียนผังงาน องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง เช่น ตัวแปร ค่าคงที่ เครื่องหมายกระทำการ นิพจน์ ฟังก์ชัน เป็นต้น ชนิดของข้อมูลแบบต่าง ๆ โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ โครงสร้างคำสั่งแบบตามลำดับ เลือกทำ และการวนซ้ำ การสร้างโปรแกรมย่อย โดยการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ในการฝึกปฏิบัติ การใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม การตรวจสอบ ทดสอบ และแก้ไขโปรแกรม 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม 
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์อาคาร 3   โทร.  1151 
3.2  e-mail; morakot@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน 
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
 
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 
2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง 
เหมาะสม 
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)    
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)  
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)   
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing   
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)   
8. การสอนแบบบรรยาย    
การสังเกต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
    -  กิตินันท์ พลสวัสดิ์, ไกรศร ตั้งโอภากุล, คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา C 
    - อรพิน ประวัติบริสุทธิ์, คู่มือเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C ฉบับสมบูรณ์ 
    - วรรณวิภา ติตถะสิริ, การเขียนโปรแกรม C ด้วยตนเอง 
- ดอนสัน ปงผาบ, การเขียนโปรแกรมภาษาซีในงานควบคุม 
- มนตรี พจนารถลาวัณย์, การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยเทอร์โบซี 
 - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
 - การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน 
 - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
 - ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซด์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องการสื่อสารกับนักศึกษา 
 - ผลการสอบ 
     - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
     - การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ 
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
     - การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 
     - ตรวจสอบผลประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การสอน และรายละเอียดรายวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 
     - ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาและโปรแกรมที่เกี่ยวข้องให้ทันกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย