ประวัติศาสตร์ศิลป์สำหรับงานออกแบบสื่อสาร

Art History for Communication Design

1.1 ให้นักศึกษารู้ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์ศิลปะและประวัติงานออกแบบกราฟิก  
1.2 ให้นักศึกษารู้จักความเชื่อ แรงจูงใจหรือแนวคิดในการสร้างงานศิลปะ ลักษณะเฉพาะของศิลปะตะวันออกและศิลปะตะวันตกตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน เน้นศิลปะตะวันตกสมัยใหม่และการ 
1.3 ให้นักศึกษารู้จักการประยุกต์ใช้ความรู้กับงานออกแบบสื่อสาร
เปลี่ยนตัวอย่างผลงานศิลปะให้ทันสมัยยิ่งขึ้น
ศึกษาความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์ศิลปะและประวัติงานออกแบบกราฟิก ศึกษาความเชื่อ แรงจูงใจหรือแนวคิดในการสร้างงานศิลปะ ลักษณะเฉพาะของศิลปะตะวันออกและศิลปะตะวันตกตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน เน้นศิลปะตะวันตกสมัยใหม่และการประยุกต์ใช้ความรู้กับงานออกแบบสื่อสาร
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย
สอบทฤษฎี
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบงานกลุ่ม
ผลงานกลุ่มและการนำเสนอ
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายการนำเสนองานกลุ่ม
ประเมินการนำเสนองานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BAACD101 ประวัติศาสตร์ศิลป์สำหรับงานออกแบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1),1(2),1(3),1(4) การเข้าเรียนและมีส่วนร่วมในการเรียน การสอน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 1-17 16
2 2(1) สอบเก็บคะแนน การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค 9, 10, 17 60
3 1(3), 2(1), 3(4) 2(1), 2(2), 2(3), 2(4), 3(3), 4(2), 5(1),5(2) ผลงานปฏิบัติ การนำเสนอผลงาน 8, 12, 16 24
กำจร สุนพงษ์ศรี. ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก 1 : ประวัติศาสตร์ศิลปะยุคก่อนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะยุคโบราณ ศิลปะอียิปต์ ศิลปะเมโสโปเตเมีย ศิลปะกรีก ศิลปะโรมัน และศิลปะไบแซนทีน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552. 

กำจร สุนพงษ์ศรี. ศิลปะสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554. 

วุฒิ วัฒนสิน. ประวัติศาสตร์ศิลปะ. กรุงเทพฯ : สิปประภา, 2552. 

ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์. ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2547. 
 
Museum Ludwig Cologne. 20th Century Art. Italy: Taschen, 2006. 

H. W. Janson Anthony, F. Janson. History Of Art. 6thed. Japan: Thames & Hudson, 2001 

Jacques Thuillier. History Of Art. Spain: Flammarion, 2003
-
-
1.1 การบรรยายอย่างมีส่วนร่วม 
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 การค้นคว้าทำรายงาน
2.1 การสังเกตการณ์สอน 
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.3 การทบทวนบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา
การวิจัย ค้นคว้ารายงาน เพื่อประกอบการเรียนรู้ในการพัฒนานักศึกษา
ระหว่างกระบวนการสอน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน การให้คะแนนจากการทดสอบเก็บคะแนนและค้นคว้ารายงาน
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ