อาหารว่าง

Snacks

ให้นักศึกษารู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเลือกใช้วัตถุดิบในการประกอบอาหาร การเลือกใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ ประเภทของอาหารว่าง หลักการวีการกำหนดรายการอาหารและเทคนิคการประกอบอาหารว่างในโอกาสต่าง ๆ การคิดคำนวณราคาอาหรและการจัดบริการ
    1.เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ทางวิชาการ และความชำนาญในสาขาวิชาชีพ
    2.เพื่อให้มีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนางานด้านคหกรรมศาสตร์
    3.เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานและสามารถเป็นผู้ประกอบการได้
    4.เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่มีต่อวิชาชีพและความรับผิดชอบต่อสังคม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การเลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหาร การเลือกใช้เครื่องมืออุปกรณ์ ประเภทของอาหารว่าง หลักการวิธีการกำหนดรายการอาหารและเทคนิคการประกอบอาหารว่างในโอกาสต่างๆ การคิดคำนวณราคาและการจัดบริการ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  แนะนำเกี่ยวกับเวลาให้คำปรึกษาทางวิชาการในชั้นเรียน
 -    อาจารย์ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึก สาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม

                              3.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางด้านคุณธรรม จรรยาบรรณและการสร้างจิตสำนึกที่ดีที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการบริการอาหาร เช่น ไม่นำภาชนะที่ไม่สะอาดมาเสิร์ฟ หรือ คิดราคาอาหารแพงกว่ากำหนด
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1   การเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายที่ให้ทำและตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงจากเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้อง
1.3.3   ประเมินผลงานที่มอบหมาย และงานนำเสนอ
2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางภาคทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาเข้ากับศาสตร์อื่น ๆที่เกี่ยวข้อง
2.1.3   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา
บรรยาย  อภิปราย การสาธิต การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายงานให้ค้นคว้า ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และนำมาสรุปนำเสนอและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ทดสอบภาคปฏิบัติให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติงาน โดยเน้นการวัดการทำงานเป็นกลุ่ม การมีส่วนร่วม และผลงานที่สำเร็จ
         3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
         3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานโดยนำความรู้ด้านวิชาการหรือวิชาชีพมาประยุกต์ใช้ คิด วิเคราะห์แก้ไขปัญหา อย่างมีระบบ
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1  วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.2  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.2.3   จัดกิจกรรมเป็นกลุ่มในการทำงานในภาคปฏิบัติ
4.3.1   ประเมินตนเอง และผู้ร่วมงาน
4.3.2  ประเมินจากกิจกรรมการนำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากการนำเสนอผลงาน    
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบัน
เกี่ยวกับงานอาหารภัตตาคารและการจัดเลี้ยง
5.2.2  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้รูปแบบและการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.3.2   ประเมินผลการอภิปรายและวิธีการนำเสนอ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 4 1 3 1 2 3 1 2
1 24054216 อาหารว่าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
เติบ  ชุมสา(มล.) อาหารว่าง. กรุงเทพมหานครฯ.โรงพิมพ์ประยูรวงศ์.ม.ป.ท.
ธนศักดิ์  ตั้งทองจิตร.อาหารไทยจีน. กรุงเทพมหานครฯ.นวสาสน์การพิมพ์,2551
นิดดา  หงส์วิวัฒน์.อาหารว่างไทย-ฝรั่ง. กรุงเทพมหานคร.สำนักพิมพ์แสงแดด,2549
ศรีสมร  คงพันธุ์.อาหารว่างและเครื่องดื่ม.กรุงเทพมหานครฯ.สำนักพิมพ์แสงแดด,2528
ศรีสมร  คงพันธุ์. คู่มือการจัดเลี้ยง.กรุงเทพมหานครฯ.อมรินทร์การพิมพ์.ม.ป.ป.
สำนักพิมพ์แสงแดด.อาหารว่าง.กรุงเทพมหานครฯ.สำนักพิมพ์แสงแดด.ม.ป.ป.
สำนักพิมพ์แสงแดด.ตำรับอาหารว่างไทย.กรุงเทพมหานครฯ.สำนักพิมพ์แสงแดด.ม.ป.ป.
อุบล  ดีสวัสดิ์(มล.).อาหารว่าง1.กรุงเทพมหานครฯ.เพชรการเรือน,2549
อุบล  ดีสวัสดิ์(มล.).อาหารว่าง2.กรุงเทพมหานครฯ.เพชรการเรือน,2549
             ไม่มี
เอกสารและข้อมูลแนะนำ เว็บไซด์ ที่เกี่ยวข้องกับอาหารว่าง
1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

                  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2   การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การจัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่
3.2   เชิญบุคลากรภายนอกที่เชี่ยวชาญด้านอาหารเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ ร วิธีการให้คะแนน
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
5.2   เชิญผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านเกี่ยวกับอาหารและการบริการงานเลี้ยงเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียน การสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ใหม่ ๆ นอกเหนือที่ได้จากห้องเรียน