ทฤษฎีกลศาสตร์

Theory of Mechanics

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจพื้นฐานทางทฤษฎีกลศาสตร์ และมีทักษะในการนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและการทำวิจัย
ไม่มี
ศึกษาเกี่ยวกับ พลศาสตร์ของระบบอนุภาค พลศาสตร์ของวัตถุเกร็ง ระบบพลศาสตร์ พลศาสตร์เชิงวิเคราะห์ แนะนำเทนเซอร์ เทนเซอร์การเปลี่ยนรูป เทนเซอร์ความเค้น กฎสมดุล สมการควบคุมของพฤติกรรมวัสดุ และสมการควบคุมของไหลเคลื่อนที่
Study of dynamics of system of particles, dynamics of rigid body, analytical dynamics, dynamics system, introduction to tensor, deformation tensor, stress tensor, balance laws, governing equation of materials, governing equation of fluid flow
- อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านอีเมล์ และกลุ่มไลน์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมที่ซับซ้อนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพ โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นและเมื่อไม่มีข้อมูลทางจรรยาบรรณวิชาชีพหรือไม่มีระเบียบข้อบังคับเพียงพอที่จะจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นก็สามารถวินิจฉัยอย่างผู้รู้ด้วยความยุติธรรมและชัดเจนมีหลักฐานและตอบสนองปัญหาเหล่านั้นตามหลักการเหตุผลและค่านิยมอันดีงามให้ข้อสรุปของปัญหาด้วยความไวต่อความรู้สึกของผู้ที่ได้รับผลกระทบ
1.1.2 ริเริ่มในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณที่มีอยู่เพื่อการทบทวนและแก้ไข
1.1.3 สนับสนุนอย่างจริงจังให้ผู้อื่นใช้การวินิจฉัยทางด้านคุณธรรมจริยธรรมในการจัดการกับข้อโต้แย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
1.1.4 แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลัก
1.2.1 การจัดการเรียนการสอนต้องมุ่งจัดให้เป็นการเรียนการสอนแบบการใช้ปัญหา และโครงงานเป็นฐาน และให้นักศึกษาฝึกเรียนรู้ตั้งแต่เริ่มกำหนดปัญหาฝึกแก้ปัญหา
1.2.2 แทรกการสอนเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพ จากกรณีศึกษาต่างๆ ให้นักศึกษา และเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์ และนามาเป็นกฎเกณฑ์ในการเรียนการสอนในหลักสูตร
1.2.3 ฝึกนักศึกษาให้จัดการกับข้อโต้แย้งต่างๆ โดยผ่านการเรียนการสอนที่ฝึกให้นักศึกษาหัดนำเสนอและจัดให้มีการเรียนการสอนแบบสองทาง ระหว่างอาจารย์และนักศึกษาหรือนักศึกษาด้วยกันเอง
1.2.4 การจัดการเรียนการสอนควรฝึกทางานเป็นทีม และควรฝึกให้แต่ละคนเป็นผู้นำทีมด้วยกิจกรรมการเรียนในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
1.3.1 ประเมินผลการเรียนทุกครั้งและเปิดเผยให้นักศึกษาได้ทราบผลการประเมินเพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
1.3.2 ประเมินผลจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรหรือการกระทำในขณะเรียน
1.3.3 ให้คะแนนจากการนำเสนอหรือให้คะแนนจากการสังเกตจากการลงปฏิบัติงาน และแจ้งนักศึกษาทราบทุกครั้ง
1.3.4 ประเมินผลจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผลการดาเนินการในแต่ละครั้งเมื่อทีมมอบหมายให้เป็นผู้นำทีม
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญและนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติในวิชาชีพ
2.1.2 มีความเข้าใจทฤษฎีการวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพนั้นอย่างลึกซึ้งในวิชา หรือกลุ่มวิชาเฉพาะในระดับแนวหน้า
2.1.3 มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ๆและการประยุกต์ตลอดถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปัจจุบันที่มีต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชาและต่อการปฏิบัติในวิชาชีพตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อสาขาวิชาชีพรวมทั้งเหตุผลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
2.2.1 ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆโดยการสอนให้เน้นการค้นคว้า และนำเสนอให้มากที่สุด
2.2.2 สอนให้นักศึกษาเรียนรู้หลักการมากกว่าวิธีการ และพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้กรณีศึกษาและเปิดให้นักศึกษาแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลายบนพื้นฐานของหลักการ
2.2.3 ฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าและวิจัยจากบทความวิจัยหรือบทความวิชาการ เนื่องจากจะเป็นผลการวิจัยที่ใช้องค์ความรู้ที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
2.3.1 การให้คะแนนจากการสอบข้อเขียน การเขียนรายงาน การนำเสนอ
2.3.2 ข้อสอบควรมุ่งอธิบายหลักการ พิสูจน์ แก้ปัญหาด้วยหลักการ
2.3.3 เนื้อหาที่สอนต้องปรับปรุงต่อเนื่องหรือแทรกองค์ความรู้ใหม่อย่างต่อเนื่อง และฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าอยู่ตลอดในรูปแบบการนาเสนอ การทารายงาน ฝึกแก้ปัญหาโดยการทาโครงการหรือวิจัยในทุก ๆ รายวิชา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมืออุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1.2 มีทักษะในการออกแบบทางวิศวกรรม ซึ่งต้องใช้ทักษะพื้นฐานทางฝีมือ และประสบการณ์การทำงานและฝึกทักษะการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ความรู้เชิงลึกหรือหลักการทางวิศวกรรม
6.2.1 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 6.2.2 ให้ความสาคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต
6.3.1 พฤติกรรมการปฏิบัติงานและการจดบันทึก 6.3.2 ผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2
1 MENME102 ทฤษฎีกลศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 3.1 และ 5.1 สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 4 8 12 และ 17 70%
2 2.1 3.1 และ 5.1 แบบฝึกหัด Quiz การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 และ 4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Curie, Iain G. (1993). Fundamental Mechanics of Fluids, McGraw-Hill, Inc, Singapore.
Holzspfel, Gerhard A. (2000). Nonlinear Solid Mechanics, A Continuum Approach for Engineering, John Wiley & Sons, England.
Mase, George E. (1970). Continuum Mechanics, McGraw-Hill, USA.
Mase, George T. (1999). Continuum Mechanics for Engineers, CRC press, USA.
Meirovitch, Leonard. (1985). Introduction to dynamics and Control, John Wiley & Sons, USA.
Roy, Bimalendu N. (2001). Fundamentals of Classical and Statistical Thermodynamics, John Wiley & Sons, England.
Wilmanski, Krzysztof.  (1998).  Thermomechanics of Continua,  Springer-Verlag,  Berlin,  Germany.
Ziegler, Hans. (1977). An Introduction to Thermomechanics, North-Holland Publishing, Hungary.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น เว็บไซต์ที่มีการเผยแพร่บทความทางวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ScienceDirect  SpringerLink เป็นต้น
1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน
      ช่วงก่อนการสอนควรมีการประเมินกลยุทธ์การสอนโดยทีมผู้สอนหรือระดับภาควิชา และ/หรือ การปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรหรือวิธีการสอน ส่วนช่วงหลังการสอนควรมีการวิเคราะห์ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และการวิเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษา
      ด้านกระบวนการนำผลการประเมินไปปรับปรุง สามารถทำโดยรวบรวมปัญหาข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและกำหนดประธานหลักสูตรและทีมผู้สอนนำไปปรับปรุงและรายงานผลต่อไป
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
1.2.1 การประเมินทักษะดังกล่าวสามารถทำโดยการประเมินโดยนักศึกษาในแต่ละวิชา
1.2.2 การสังเกตการณ์ของผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ประธานหลักสูตร และ/หรือทีมผู้สอน
1.2.3 ภาพรวมของหลักสูตรประเมินโดยบัณฑิตใหม่
1.2.4 การทดสอบผลการเรียนรู้ของนักศึกษาเทียบเคียงกับสถาบันอื่นในหลักสูตรเดียวกัน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 รวบรวมข้อเสนอแนะ ข้อมูล จากการประเมินจากนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต ผู้ทรงคุณวุฒิ
5.2 วิเคราะห์ทบทวนข้อมูลข้างต้น โดยผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประธานหลักสูตร
5.3 เสนอการปรับปรุงหลักสูตรและแผนกลยุทธ์