จิตวิทยาการศึกษา

Educational Psychology

1. เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน
2. เข้าใจหลักการสอนและวิธีการสอนตามทัศนะของนักจิตวิทยา
3. นำความรู้ทางจิตวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนและแก้ปัญหาการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
4. นำความรู้ทางจิตวิทยาการเรียนการสอนไปใช้ในการดำเนินชีวิต และการประกอบอาชีพ
1. พัฒนาสื่อการเรียนการสอน
2. ปรับปรุงเนื้อหาการเรียนการสอนให้เป็นไปตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based)
ศึกษาความหมาย ความสำคัญและพัฒนาการของจิตวิทยาการศึกษา แนวทัศนะและผลการทดลองของนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ จิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุษย์เพื่อส่งเสริมความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ความแตกต่างระหว่างบุคคล การเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรู้ เชาวน์ปัญญา การจำ การลืม ความพร้อมและการจูงใจ อารมณ์ บุคลิกภาพ สุขภาพจิตและการปรับตัว ความฉลาดทางอารมณ์ การประยุกต์หลักการทางจิตวิทยาเพื่อการแนะแนวและให้คำปรึกษา ผลการวิจัยทางพฤติกรรมมาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
- อาจารย์ประจำรายวิชาให้นักศึกษาติดต่อโดยตรงและติดต่อสื่อสารผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการและความเหมาะสม
1. ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. สามารถแก้ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรมและวิชาชีพโดยคำนึงถึง สิทธิมนุษยชน ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ
3. ความรับผิดชอบและซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่ ทั้งในด้านวิชาการ วิชาชีพ ชุมชน และสังคม
4. เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งในด้านการดำรงตนและการปฏิบัติงาน
- อภิปรายกลุ่ม การเรียนรู้จากเรื่องเล่า Concept Mapping
- วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่นเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรม
- พฤติกรรมการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
- ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
- ประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น กิจกรรมเรื่องเล่า Concept Mapping
- ประเมินจากการอ้างอิงอย่างเหมาะสมและถูกต้องของรายงาน
- ประเมินร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการศึกษา
2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของจิตวิทยาการศึกษาและการนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการศึกษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

 มีทักษะในการแสวงหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท

4. มีทักษะในการวางแผนและจัดการเรียนการสอน
บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม ตั้งคำถาม วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น กิจกรรมการเรียนรู้จากเรื่องเล่า และ Concept Mapping
- ทดสอบย่อย
- ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
- การตอบคำถาม
- รายงาน
- การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์ / Concept Mapping
1. ตระหนักรู้ในศักยภาพของตน เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถที่นำไปสู่การแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
2. สามารถสืบค้น ทำความเข้าใจ วิเคราะห์ และประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ
3. สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจอันถ่องแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มีคุณภาพในการทำงาน
4. สามารถพัฒนาวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไป โดยคำนึงถึงความรู้และผลกระทบจากการตัดสินใจ
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การทำงานกลุ่ม ตั้งคำถาม วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น มอบหมายงาน กิจกรรมการเรียนรู้จากเรื่องเล่า และ Concept Mapping
- การตอบคำถาม
- รายงาน
- การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. มีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2. สามารถทำงานเป็นทีมในบทบาทผู้นำและสมาชิกขององค์การด้านการศึกษาในบริบทหรือสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
3. สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีในองค์การด้านการศึกษา ในสถานการณ์ที่หลากหลายและสถานการณ์เฉพาะหน้า
4. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง องค์การและสังคมอย่างต่อเนื่อง
บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม ตั้งคำถาม วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น มอบหมายงาน กิจกรรมการเรียนรู้จากเรื่องเล่า และ Concept Mapping
- การตอบคำถาม
- รายงาน
- การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์ / Concept Mapping
1. สามารถสื่อสารทั้งการฟัง พูด เขียน ทำรายงานและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการิเคราะห์ แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการศึกษา
3. สามารถสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเพื่อทำรายงาน เตรียมและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม มอบหมายงาน และ Concept Mapping
- รายงาน
- การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์ / Concept Mapping
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 มีจรรยาบรรณ 2 มีคุณธรรมจริยธรรม 3 มีจิตอาสาและสาธารณะ 4 มีภาวะผู้นำ 5 มีความรอบรู้ 6 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 7 มีความคิดสร้างสรรค์ 8 วิเคราะห์งานเป็นระบบ 9 มีทักษะด้านสารสนเทศ 10 มีทักษะการสื่อสาร
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 30024101 จิตวิทยาการศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.2 การทดสอบย่อยครั้งที่ 1 8 10%
2 2.1- 4.4 สอบกลางภาค 9 25%
3 5.1-8.2 สอบปลายภาค 17 25%
4 1.2, 2.1, 2.2-3.2, 4.1-5.3, 6.1, 8.1-8.2 6.2 1.1,6.2 1.1-8.2 การวิเคราะห์และการนำเสนอ การมีส่วนร่วมอภิปราย/การตอบคำถาม กิจกรรมเรื่องเล่า การทำรายงาน/งานกลุ่มและผลงาน และการนำเสนอ การทำ Concept Mapping ตลอดภาคการศึกษา 20% 10%
5 1.1–8.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
อรอนงค์ นิยมธรรม. (2547). จิตวิทยาทั่วไป. ฉบับปรับปรุงแก้ไข. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
อรอนงค์ นิยมธรรม. (2549). จิตวิทยาการศึกษา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
กมลรัตน์ บิณฑะแพทย์. (2532). จิตวิทยาทั่วไป. ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา
กมลรัตน์ หล้าสุวงษ์. (2528). จิตวิทยาการศึกษา ฉบับปรับปรุงใหม่. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดศรีเดชา
กันยา สุวรรณแสง. (2538). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรพิทยา
จรรจา สุวรรณทัต. (2535). “ การเรียนรู้ ความตั้งใจและการแก้ปัญหา,” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาจิตวิทยาทั่วไป หน่วยที่ 1 - 7. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
________. (2535) . “ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา,” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาจิต วิทยาทั่วไป หน่วยที่ 1 – 7. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
จรรจา สุวรรณทัต และดวงกมล เวชบรรยารัตน์. (2535) . “ บุคลิกภาพและลักษณะนิสัย,” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาจิตวิทยาทั่วไป หน่วยที่ 1 - 7. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช,
ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2540). “หน่วยที่ 7 : บุคลิกภาพและการจูงใจ” เอกสารชุดวิชาพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 15. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ถวิล ธาราโรจน์ และศรัณย์ ดำริสุข. (2540). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2545) .จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย : แนวคิดเชิงทฤษฎี – วัยเด็กตอนกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
----------. (2545) . จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย : วัยรุ่น – วัยสูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
________. (2547). ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิมพ์ดี
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2544). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บริษัทด่านสุทธา การพิมพ์ จำกัด
   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
   
Hellriegel, Don. & Slocum, John W. (2004). Organizational Behavior. 10ed th. Canada: Thomson South-western.
James Campbell. & Nelson, Debra L. (2011). Principles of Organizational Behavior. International Edition. Chaina: China Translation & Printing Services Limited. http://www.riclib.nrct.go.th/
http://www.library.tu.ac.th/
http://www.lib.swu.ac.th/
http://www.hs.chula.ac.th/
 
นักศึกษาประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชา
นักศึกษาเป็นผู้สะท้อนคิด (Reflective Journal)
2.1 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
2.2 ผลงานและการนำเสนอ
2.3 ผลการทดสอบ
3.1 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาโดยใช้ Evidence Based
3.2 ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน
3.3 พัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ใช้หลักการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียน ผลงาน และผลการทดสอบ ร่วมกับให้นักศึกษาตรวจสอบผลการเรียนรู้ของตนเองและประเมินตนเอง
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3-5 ปี
5.2 สัมมนาผู้คุณวุฒิจากภายนอกเพื่อหาแนวทางในการวางแผนปรับปรุงรายวิชา