ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

Introduction to Business Operation

ศึกษาลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่างๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ  การจัดการ  การบัญชี  การเงิน  การตลาด  การจัดการทรัพยากรมนุษย์  เอกสารทางธุรกิจ  ภาษีอากรทางธุรกิจ  จริยธรรมธุรกิจ  ปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการดำเนินธุรกิจ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับธุรกิจประเภทต่างๆและองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ สามารถนำองค์ประกอบต่างๆทางด้าน การบัญชี  การเงิน  การตลาด การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การใช้เอกสารต่างๆเป็นเครื่องมือในการทำธุรกิจ เข้าใจระบบการเสียภาษี และปลูกฝังจริยธรรมทางธุรกิจ รวมทั้งสามารถแก้ปัญหาต่างๆในการดำเนินธุรกิจได้
ศึกษาลักษณะพื้นฐานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ และองค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ  การจัดการ การบัญชี  การเงิน  การตลาด  การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เอกสารทางธุรกิจ  ภาษีอากรทางธุรกิจ จริยธรรมธุรกิจ   ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาในการดำเนินธุรกิจ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ
ปฏิบัติตามกฎหมาย  กฎ ระเบียบ  ข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ของสังคม มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง ธุรกิจประเภทต่างๆ คำนวณการคิดต้นทุน การคำนวณกำไร ขาดทุน งบดุล ฝึกฝนการทำบัญชี ให้ทุกคน หัดแก้ปัญหาของกรณีศึกษา
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   ดูการตอบคำถามคิดคำนวณอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงาน และการแก้ปัญหา
    2.1.1    เข้าใจองค์ความรู้ในรายวิชาอย่างกว้างขวางเป็นระบบ
     2.1.2    สามารถคำนวณข้อมูลด้านต่างๆทางด้านธุรกิจ
     2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ทั้งในรายวิชา  และวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
บรรยาย  คำนวณ และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอผลงานที่ผ่านการทดสอบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการทดสอบความเข้าใจ การประยุกต์เนื้อหามาตอบแบบทดสอบ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการคำนวณและวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากคำนวณภาวะโภชนาการของแต่ละบุคคล สามารถบูรณาการความรู้เพื่อการศึกษาปัญหาที่ซับซ้อน  และเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาจัดทำเอกสารทางการค้า การคำนวณหากำไร  ขาดทุน ทำงบดุล
 3.2.2   ฝึกปฏิบัติการวางแผนในการทำธุรกิจ
3.2.3   ให้เขียนแผนธุรกิจอย่างง่าย
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค 
3.3.2   วัดผลจากการนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตผลรายงาน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันในการทำงานร่วมกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   ให้จัดทำเอกสารทางการค้าต่างๆ คิดต้นทุน กำไร ขาดทุน การทำการตลาด การใช้มนุษย์สัมพันธ์ในองกรค์
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การเขียนแผนธุรกิจ
4.3.1   ประเมินตนเอง
4.3.2  ประเมินจากผลการคำนวณ
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณต้นทุน กำไร ขาดทุน งบดุล
5.1.2   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ต้นทุน ราคาขาย การจัดการเพื่อสร้างผลกำไร
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกิจ
5.2.1   มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ  และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1 1 4 2 2 2 3 3 4 4 4 4 5 5 5
1 BSCFN107 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ สอบคำนวณ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 ,16 9 17 10 % 25 % 35 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติ (รายงาน) 15 16 ตลอดภาคเรียน 15%
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน ตลอดภาคเรียน 5%
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร แบบฝึกหัดหลังบทเรียน ตลอดภาคเรียน -
อำไพ  สงวนแวว . เอกสารประกอบการสอนวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. 2560
          กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์, การจัดการธุรกิจขนาดย่อม Small Business management, กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ครั้งที่ 8, 2552.
แหล่งข้อมูลอินเตอร์เน็ต
     www.sme.go.th
     www.smebank.co.th
     www.dbd.go.th
     www.most.go.th
     www.thaibiz.net
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
รายงานการคำนวณการประเมินภาวะโภชนาการที่นักศึกษาจัดทำขึ้น ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน ผลการเรียนของนักศึกษา แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  
ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นโดยอิสระในเรื่องต่างๆของการเรียนการสอบ
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
2.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.2 การศึกษาดูงานนอกสถานที่
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
                -  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
           
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่เกิดขึ้นจริงจากปัญหาทางธุรกิจ