การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์

Publication Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบสิ่งพิมพ์รูปเล่มประเภทต่างๆ การทำต้นแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ วัสดุการพิมพ์ การทำรูปเล่มด้วยเทคนิคต่างๆ
เปิดสอนครั้งแรก
ฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์รูปเล่ม เช่น หนังสือ  หนังสือพิมพ์  นิตยสาร  สิ่งพิมพ์รูปเล่ม  แนวคิดและการสร้างสรรค์สิ่งพิมพ์รูปเล่ม  การทำต้นแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเอร์  วัสดุการพิมพ์  การทำรูปเล่มด้วยเทคนิคต่างๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องความระเบียบข้อบังคับ
ของมหาวิทยาลัย
1.3.1 การขานชื่อ และการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้
1.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจหลักการปฏิบัติงานในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1 ใช้การสอนหลายรูปแบบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้หลักการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ โดยใช้รูปแบบการสอนคือ แบบการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative) และการสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
2.2.2 มอบหมายให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรวบรวมงานปฏิบัติในรูปแบบ
แฟ้มสะสมงานส่งปลายเทอม
2.2.3 มอบหมายงานกลุ่มโดยใช้หลักการปฏิบัติตามหัวข้อหรือประเด็นที่กำหนด พร้อมทั้งนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1 ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียน การสอบปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดผลงานภาคปฏิบัติ
2.3.2 ประเมินจากผลการปฎิบัติงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
2.3.3 ประเมินจากการค้นคว้าข้อมูลในการทำรายงาน การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการสะท้อนความคิดและการประพฤติปฏิบัติ
3.3.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
3.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รายงานหน้าชั้นเรียน
3.2.4 การศึกษา ค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา การค้นคว้ารายงานและการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
4.1.1 มีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงาน
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอผลงานหลังจากฝึกปฏิบัติ
4.3.1 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษาและประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถือด้วยตนเอง และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1 ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAACD112 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1. 2.1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,17 20
2 2.1.1 3.1.1 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 การนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล การทำรายงาน การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การคิดวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา การส่งงานตามที่มอบหมายในแต่ละสัปดาห์ และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน การทำรายงงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดภาคการศึกษา 70
3 1.1.1 การขานชื่อ การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การแต่งกาย และปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 10
จินตนา ถ้ำแก้ว. การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา.กรุงเทพมหานคร: สกายบุ๊ค, 2555.
ธวัชชัย ศรีสุเทพ. ชุดสีโดนใจ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2554.
นันรณา จำลอง. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2558.
ประจักษ์ พรประเสริฐถาวร. การออกแบบสิ่งพิมพ์สำหรับมือใหม่. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2559.
สกนธ์ ภู่งามดี. การออกแบบสิ่งพิมพ์เพื่อการโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2554.
โอภาส เอี่ยมสิริวงค์. การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2558.
พรเทพ เลิศเทวศิริ. Image Scale. เอกสารประกอบการสอนสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2550.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบสิ่งพิมพ์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์รูปเล่ม
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบสิ่งพิมพ์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน Social Network ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชั่วโมง
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่
มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ