ภาษาอังกฤษเพื่องานศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์

English for Art and Creative Design

เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการพูดภาษาอังกฤษสำหรับงานทางด้านศิลปะและการออกแบบสำหรับบทความวิชาการ บทความวิจัย และการนำเสนอผลงานทางวิชาการภาษาอังกฤษได้อย่างเหมาะสม    
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการอ่าน และการพูดภาษาอังกฤษเกี่ยวกับบทความวิชาการ บทความวิจัย และการนำเสนอผลงานทางวิชาการ ทางด้านศิลปะและการออกแบบให้สอดคล้องกับแนวโน้มสภาพสังคมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ฝึกทักษะภาษาอังกฤษสำหรับงานทางด้านศิลปะและการออกแบบ เน้นการอ่านและการพูด
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  กำหนดเวลาในการให้คำปรึกษา
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตาม
    ความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
     (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
         1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
         1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
         1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ“ศรีของความเป็นมนุษย์
         1.2.1 จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
         1.2.2 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
         1.2.3 สร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
         1.2.4 ส่งเสริมให้นักศึกษารับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเคารพในคุณค่าและศักดิ“ศรีของความเป็นมนุษย์รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม ยกย่องและเชิดชูผู้ที่ทำความดีและเสียสละ
1.3.1 การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
         1.3.2 การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
        2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
        2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการเเละเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
        2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
        2.1.4 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีได้อย่างมีประสิทธิภาพ             
2.2.1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนี้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
    2.2.2  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
    2.2.3  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป ได้แก่

การฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาอังกฤษในการอ่าน การเขียน และการนำเสนองานเชิงวิชาการในชั้นเรียน

การฝึกปฏิบัติการใช้ภาษาอังกฤษในการอ่าน การเขียน และการนำเสนองานเชิงวิชาการเพิ่มเติมนอกชั้นเรียนจากสื่อเทคโนโลยีต่างๆเช่น แบบฝึกหัดออนไลน์จากเว็บไซต์ต่าง ๆ
   2.3.1   การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน
   2.3.2   ทดสอบการฝึกปฏิบัติการเขียนภาษาอังกฤษ การนำเสนองานและการอภิปราย
   2.3.3   ผลงานจากการค้นคว้าและทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียนจากสื่อเทคโนโลยีต่างๆ
            2.3.4   การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาคสอบปฏิบัติการนำเสนองานวิชาการเป็นภาษาอังกฤษ
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ
            3.1.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
            3.1.3   มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์
                      และวัฒนธรรมสากล
3.2.1จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงานเชิงวิชาการ
3.2.2 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา
3.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมติในการรายงานและการนำเสนองาน
3.3.1  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในการเขียนรายงานการนำเสนองานและการอภิปราย
            3.3.2   การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ
            3.3.3   การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
           4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
            4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
           4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
     4.2.2   จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
     4.2.3   จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปราย
เพื่อหาข้อสรุป
4.3.1   การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2   ทดสอบการฝึกปฏิบัติการเขียนภาษาอังกฤษ การนำเสนองานและการอภิปราย
4.3.3   ผลงานจากการค้นคว้าและทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียนจากสื่อเทคโนโลยีต่างๆ
         4.3.4   การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาคสอบปฏิบัติการนำเสนองานวิชาการเป็นภาษาอังกฤษ
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
        5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
        5.1.3 สามารถใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
 5.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
        5.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
        5.2.3 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ทักษะภาษาอังกฤษสำหรับการค้นคว้าวิจัย เน้นการอ่านเพื่อสรุปความ วิเคราะห์บทความวิชาการ การเขียน และการนำเสนอผลงานทางวิชาการ
5.3.1 จากการทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาคสอบปฏิบัติการนำเสนองานวิชาการเป็นภาษาอังกฤษ
       5.3.2 จากผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย
       5.3.3 จากพฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อการนำเสนองานโดยใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนองานเชิงวิชาการได้อย่างเหมาะสม
            
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 พฤติกรรมและความสามารถในการอ่านบทความวิชาการ บทความวิจัยภาษาอังกฤษ ทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 50%
2 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษ ทดสอบย่อย นำเสนองาน 16-17 50%
- English Department (2016). Intensive English for Graduate Students of Arts. Chiang Mai: Faculty of Humanities, Chiang Mai University.
แบบฝึกหัดออนไลน์จากเว็บไซต์ต่าง ๆ จากสื่อมัลติมีเดียออนไลน์
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชาจากสื่อมัลติมีเดียออนไลน์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
          2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
          3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
          4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
          4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการศึกษาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์