อาหารนานาชาติ

International Cuisine

ให้นักศึกษารู้เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารนานาชาติ วัตถุดิบ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบอาหารนานาชาติ เทคนิคการประกอบอาหารแต่ละชาติที่อยู่ในความนิยม การประกอบอาหารและการจัดบริการอาหารนานาชาติ
    1.เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ทางวิชาการ และความชำนาญในสาขาวิชาชีพ
    2.เพื่อให้มีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนางานด้านคหกรรมศาสตร์
    3.เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานและสามารถเป็นผู้ประกอบการได้
    4.เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่มีต่อวิชาชีพและความรับผิดชอบต่อสังคม
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารนานาชาติ วัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบอาหารนานาชาติ เทคนิคการประกอบอาหารแต่ละชาติที่อยู่ในความนิยมการประกอบอาหารและการจัดบริการอาหารนานาชาติ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  แนะนำเกี่ยวกับเวลาให้คำปรึกษาทางวิชาการในชั้นเรียน
 -    อาจารย์ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึก สาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม

                              3.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางด้านคุณธรรม จรรยาบรรณและการสร้างจิตสำนึกที่ดีที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอาหาร เช่น สอนอาหารของแต่ละชาติต้องบอกลักษณะอาหารและรสชาติที่แท้จริง
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1   การเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายที่ให้ทำและตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงจากเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้อง
1.3.3   ประเมินผลงานที่มอบหมาย และงานนำเสนอ
2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางภาคทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาเข้ากับศาสตร์อื่น ๆที่เกี่ยวข้อง
2.1.3   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา
บรรยาย  อภิปราย การสาธิต การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายงานให้ค้นคว้า ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และนำมาสรุปนำเสนอและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ทดสอบภาคปฏิบัติให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติงาน โดยเน้นการวัดการทำงานเป็นกลุ่ม การมีส่วนร่วม และผลงานที่สำเร็จ
         3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
         3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานโดยนำความรู้ด้านวิชาการหรือวิชาชีพมาประยุกต์ใช้ คิด วิเคราะห์แก้ไขปัญหา อย่างมีระบบ
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1  วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.2  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.2.3   จัดกิจกรรมเป็นกลุ่มในการทำงานในภาคปฏิบัติ
4.3.1   ประเมินตนเอง และผู้ร่วมงาน
4.3.2  ประเมินจากกิจกรรมการนำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากการนำเสนอผลงาน    
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับงานอาหารภัตตาคารและการจัดเลี้ยง
5.2.2  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้รูปแบบและการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.3.2   ประเมินผลการอภิปรายและวิธีการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 24054219 อาหารนานาชาติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4 2.1-2.4,3.1-3.3 4.1-4.5,5.1-5.4 6.1-6.6 ทดสอบย่อย ทดสอบกลางภาค ทดสอบย่อย สอบปลายภาคเรียน 2 9 12 17 5% 20% 5% 20%
2 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งผลงานตามที่มอบหมาย 1-8 10-16 40%
3 การเข้าเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรม 10%
พิสมัย  ปโชติการ  งานบริการอาหารและเครื่องดื่ม กรุงเทพมหานครฯ ศึกษาพรการพิมพ์ 2539
นิตยสารภัตตาคารโรงแรม  กรุงเทพมหานครฯ หนึ่งเจ็ดการพิมพ์จำกัด 2530
ศรีสมร  คงพันธ์  คู่มือการจัดอาหารงานเลี้ยง กรุงเทพมหานครฯ อมรินทร์การพิมพ์  2528
ศิวะ  วสุนะราภิวัฒน์ คู่มือการบริการอาหารและการจัดเลี้ยง กรุงเทพมหานครฯ สำนักพิมพ์
ดอกหญ้า 2527
เอกสารประกอบการฝึกอบรมอาหารนานาชาติ.2551
เอกสารการฝึกอบรมอาหารยุโรป.2552
องค์การส่งเสริมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย  คู่มือพนักงานภัตตาคาร กรุงเทพมหานคร บำรุงนุกุลกิจการพิมพ์ 2526
อาเซียน  พัมลิชชิ่ง จำกัด  อาหารจีนยอดนิยม กรุงเทพมหานครฯ รุ่งศิลป์การพิมพ์ 2526
             ไม่มี
เอกสารและข้อมูลแนะนำ เว็บไซด์ ที่เกี่ยวข้องกับอาหารนานาชาติ
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2   การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การจัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่
3.2   เชิญบุคลากรภายนอกที่เชี่ยวชาญด้านอาหารต่างชาติหรือเชฟจากโรงแรมต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ ร วิธีการให้คะแนน
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
5.2   เชิญผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านเกี่ยวกับอาหารแต่ละชาติหรือเชฟจากโรงแรมต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียน การสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ใหม่ ๆ นอกเหนือที่ได้จากห้องเรียน