ปัญหาพิเศษทางคหกรรมศาสตร์

Special Problem in Home Economics

ให้นักศึกษารู้เกี่ยวกับปฏิบัติการศึกษา ค้นคว้า ทดลองเกี่ยวกับปัญหาพิเศษทางด้านคหกรรมศาสตร์ โดยเรียบเรียงเป็นเอกสารเพื่อนำเสนอ
    1.เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ทางวิชาการ และความชำนาญในสาขาวิชาชีพ
    2.เพื่อให้มีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนางานด้านคหกรรมศาสตร์
    3.เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานและสามารถเป็นผู้ประกอบการได้
    4.เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่มีต่อวิชาชีพและความรับผิดชอบต่อสังคม
ปฏิบัติการศึกษา ค้นคว้า ทดลองเกี่ยวกับปัญหาทางคหกรรมศาสตร์โดยเรียบเรียงเป็นเอกสารเพื่อนำเสนอ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  แนะนำเกี่ยวกับเวลาให้คำปรึกษาทางวิชาการในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึก สาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

                             4.เคารพสิทธิ์ในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางด้านคุณธรรม จรรยาบรรณและการสร้างจิตสำนึกที่ดีที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการค้นคว้า ทดลองงานทางด้านคหกรรมศาสตร์ เช่น ไม่ลอกเลียนแบบงานที่คนอื่นเคยทำและนำเสนอว่าเป็นของตนเอง
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   การเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายที่ให้ทำและตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงจากเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้อง
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาเข้ากับศาสตร์อื่น ๆที่เกี่ยวข้อง
2.1.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา
การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายงานให้ค้นคว้า ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และนำมาสรุปนำเสนอและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบภาคปฏิบัติ ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติงาน โดยเน้นการวัด การทำงานเป้นกลุ่ม การมีส่วนร่วม และผลงานที่สำเร็จ
         3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
         3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาหาหัวข้อที่เกี่ยวกับปัญหางานทางด้านคหกรรมศาสตร์ โดยนำความรู้ด้านวิชาการมาประยุกต์ใช้ วิเคราะห์แก้ไขปัญหา และนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา 
3.3.1  วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.2  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และผู้ร่วมงาน
4.3.2  ประเมินจากกิจกรรมการนำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากการนำเสนอผลงาน    
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับหัวข้อปัญหาทางคหกรรมศาสตร์
5.2.2  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้รูปแบบและการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.3.2   ประเมินผลการอภิปรายและการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 24059415 ปัญหาพิเศษทางคหกรรมศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จากการนำเสนอหัวข้อ จากการนำเสนองานที่มอบหมาย จากการนำเสนอผลงานที่ค้นคว้าทดลอง จากผลงานที่ได้ค้นคว้าทดลองพร้อมเล่มสรุปผลงาน 5% 15% 20% 50%
2 การเข้าเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรม 10%
-
-
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2   การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การจัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่
3.2   เชิญบุคคลากรภายนอกที่เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการงานทางด้านคหกรรมศาสตร์
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ ร วิธีการให้คะแนน
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
5.2   เชิญผู้เชี่ยวชาญและผู้ประกอบการงานทางคหกรรมศาสตร์เข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ใหม่ ๆนอกเหนือที่ได้จากห้องเรียน