วัชพืชและการควบคุม

Weeds and Their Controls

1. วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 มีความรู้ในชนิดและลักษณะที่สำคัญของวัชพืช การเจริญเติบโต การขยายพันธุ์และการ
แพร่กระจายพันธุ์ของวัชพืช และปัญหาอันเนื่องมาจากวัชพืช
1.2 มีความรู้ในหลักการจัดการวัชพืชและวิธีการควบคุมวัชพืช
1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และเลือกใช้วิธีการควบคุมวัชพืชในพืชปลูกต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.4 มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
1.5 มีวินัย ซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น รับฟังความคิดของผู้อื่น
1.6 มีความรับผิดชอบในวิชาชีพ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงจรรยาบรรณในวิชาชีพ
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา:
เพื่อเป็นรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพบังคับ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรที่ต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับวัชพืชและเลือกใช้วิธีกำจัดวัชพืชอย่างถูกต้อง เหมาะสม และไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยสามารถเชื่อมโยงกับการผลิตพืชเศรษฐกิจ มีทักษะและสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมทางการเกษตร มีความคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ สามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของตนเอง ชุมชน และท้องถิ่น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ การจำแนกชนิดชีววิทยาและนิเวศวิทยาของวัชพืชหลัก วิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช ประเภทและสรีรวิทยาการทำลายของสารเคมีกำจัดวัชพืชและความปลอดภัยในการใช้
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือ โทรศัพท์ 081-792-0315
3.2 ส่ง e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th ทุกช่วงเวลาของทุกวัน
 
1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยมีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมการยกย่องนักศึกษา/บุคคลที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ
1. การสังเกตและบันทึกการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
2. การสังเกตความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
3. การสังเกตและบันทึกการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
4. ประเมินจากการทำข้อมอบความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) ให้นักศึกษาค้นคว้าเรื่อง วัชพืชและการป้องกันกำจัดวัชพืช จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ทางวิชาการ
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ให้งานมอบหมายรายบุคคล
3. การสอนแบบ (Brain Storming Group) ให้งานมอบหมายกลุ่ม
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. รายงาน/ผลงาน ที่นักศึกษาจัดทำ
4. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) ให้นักศึกษาค้นคว้าการป้องกันกำจัดวัชพืช
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ให้งานมอบหมายรายบุคคล
3. การสอนแบบ (Brain Storming Group) ให้งานมอบหมายกลุ่ม
1. รายงาน/ผลงาน ที่นักศึกษาจัดทำ
2. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน
3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
š 4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
˜ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อมและสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ให้งานมอบหมายรายบุคคล
2. การสอนแบบ (Brain Storming Group) ให้งานมอบหมายกลุ่ม
1. การสังเกตจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
2. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน
3. การประเมินโดยนักศึกษาร่วมชั้นเรียน
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสม
1. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ให้งานมอบหมายรายบุคคล
2. การสอนแบบ (Brain Storming Group) ให้งานมอบหมายกลุ่ม
1. การนำเสนองานด้วยวิธีรายงาน / เทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
2. รายงาน/ผลงาน การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสม 6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
1 BSCAG109 วัชพืชและการควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 1. การสังเกตและบันทึกการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน 2. การสังเกตความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น 3. การสังเกตและบันทึกการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด 4. ประเมินจากการทำข้อมอบความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 1-16 10
2 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. รายงาน/ผลงาน ที่นักศึกษาจัดทำ 4. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน 1, 6, 16 และ 17 30
3 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 1. รายงาน/ผลงาน ที่นักศึกษาจัดทำ 2. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน 3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ 1-16 30
4 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 1. การสังเกตจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา 2. การนำเสนอรายงาน/ผลงานในชั้นเรียน 3. การประเมินโดยนักศึกษาร่วมชั้นเรียน 1-16 10
5 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 1. การนำเสนองานด้วยวิธีรายงาน / เทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล 2. รายงาน/ผลงาน การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม 14-16 20
ดวงพร สุวรรณกุล. 2543. ชีววิทยาวัชพืช; พื้นฐานการจัดการวัชพืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตร-ศาสตร์ : กรุงเทพฯ.
ธวัชชัย รัตนชเลศ. J.F. Maxwell 2535. รายชื่อวัชพืชที่มีรายงานพบในประเทศไทย. ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : เชียงใหม่.
ประเสริฐ ชิตพงศ์ 2540. วัชพืชและการจัดการ. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : หาดใหญ่.
พรชัย เหลืองอาภาพงศ์. 2540. วัชพืชศาสตร์. สำนักพิมพ์รั้วเขียว : กรุงเทพฯ.
พรชัย เหลืองอาภาพงศ์. 2542. วัชพืชและการป้องกันกำจัด. ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตร มหาวิทยาลัย-เชียงใหม่ : เชียงใหม่.
รังสิต สุวรรณเขตนิคม. 2531. สารกำจัดวัชพืชกับผลทางสรีรวิทยาของพืช. เล่ม 1 พื้นฐานการเลือกทำลาย. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : กรุงเทพฯ.
อัมพร สุวรรณเมฆ. 2525. วิทยาการวัชพืช. สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย : กรุงเทพฯ.
กาญจนา รุจิพจน์. 2562. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา BSCAG109 วัชพืชแบะการควบคุม. สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์แบะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
https://research.ku.ac.th/forest/Search.aspx?keyword/สารเคมีกำจัดวัชพืช
.https://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/weed/index.htm/วัชพืชและการจัดการ
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง ในระบบทะเบียนกลางของมหาวิทยาลัยฯ
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากคณะกรรมการทวนสอบ หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชา/หลักสูตร มีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์และความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตร พิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา/คณะฯ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป