วิทยานิพนธ์
Thesis
นักศึกษาสามารถค้นคว้าและประมวลความรู้จากข้อมูลและความก้าวหน้าทางวิชาการด้านเทคโนโลยีการเกษตรได้
นักศึกษาสามารถสืบผลงานวิชาการที่ทันสมัยด้านเทคโนโลยีการเกษตรมาประยุกต์ใช้ในดำเนินงานทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลงานทดลองทางสถิติให้เป็นระบบได้
นักศึกษาสามารถเรียบเรียงและเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ทางเทคโนโลยีการเกษตรและและการเขียนเอกสารอ้างอิงได้ถูกต้อง
นักศึกษาสามารถสรุปและนำเสนอแบบปากเปล่าในหัวข้อวิทยานิพนธ์ทางการด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
การปรับปรุงรายเนื้อหาเพิ่มเติมรายละเอียดของวิชา ด้านความรู้ ความเข้าใจ ให้ได้ตามเกณฑ์ของหลักสูตร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้องได้และสอดคล้องกับปรัชญาหลักสูตรที่ได้ปรับปรุงใหม่ให้ทันสถานการณ์ในโลกปัจจุบัน
ทำการศึกษาค้นคว้าทดลองในหัวข้อวิชาการด้านเทคโนโลยีการเกษตรในสาขาวิชาที่สนใจศึกษา รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ แปลผลและวิจารณ์ผล สังเคราะห์และจัดทำรายงานเชิงวิทยาศาสตร์
Conducting the experimental of academic topic in agricultural technology. Compilation and systematic data analysis. Interpretation and discussion, synthesis and writing of scientific repor
Conducting the experimental of academic topic in agricultural technology. Compilation and systematic data analysis. Interpretation and discussion, synthesis and writing of scientific repor
2 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. ใช้วิธีการสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียน
2. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
2. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1. การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการนัดหมายและการส่งรายงานความก้าวหน้าผลการศึกษาวิทยานิพนธ์
2. ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆในรายวิชาเดียวกัน
3. นักศึกษาประเมินตน
2. ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆในรายวิชาเดียวกัน
3. นักศึกษาประเมินตน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลวิชาการด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่ทันสถานการณ์ปัจจุบัน ที่สอดคล้องกับหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์
2. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา และสื่อสารสนเทศเปรียบเทียบวิธีการวิจัยที่ได้ผลผลิตและวิเคราะห์คุณภาพทางเคมีและกายภาพของผลผลิตที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอิสระ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอรายงานความก้าวหน้า พร้อมตอบข้อซักถามได้
2. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา และสื่อสารสนเทศเปรียบเทียบวิธีการวิจัยที่ได้ผลผลิตและวิเคราะห์คุณภาพทางเคมีและกายภาพของผลผลิตที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอิสระ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอรายงานความก้าวหน้า พร้อมตอบข้อซักถามได้
1. ความก้าวหน้าของรายงานวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
2. การนำเสนอรายงานวิทยานิพนธ์ทางวิชาการที่สอดคล้องกับความสนใจของนักศึกษา
2. การนำเสนอรายงานวิทยานิพนธ์ทางวิชาการที่สอดคล้องกับความสนใจของนักศึกษา
3.1มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางรูปแบบวิทยานิพนธ์ วิเคราะห์และสังเคราะห์ ในเรื่องที่สืบค้นมานำเสนอในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาและความสำคัญของหัวข้อที่นักศึกษาสนใจศึกษา
1. ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน เป็นรายบุคคล
2. ความก้าวหน้าในการจัดทำรูปเล่มรายงานวิทยานิพนธ์
3. รูปเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
2. ความก้าวหน้าในการจัดทำรูปเล่มรายงานวิทยานิพนธ์
3. รูปเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางรูปแบบวิทยานิพนธ์ นำเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าในหัวข้อด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่นักศึกษาสนใจศึกษา และการประเมินผลการนำเสนองานสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยการถามตอบและมีการให้ข้
1. รายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ หรือเล่มวิทยานิพนธ์ที่สมบูรณ์
2. ผลคะแนนประเมินการนำเสนองานสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
2. ผลคะแนนประเมินการนำเสนองานสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์หรือ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือโครงวิทยานิพนธ์
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือโครงวิทยานิพนธ์
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ ประเมินข้อมูลผลงานวิจัยจากเอกสารวิชาการจากสื่อสิ่งพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติ มาประกอบการเขียนรายละเอียดในวิทยานิพนธ์ที่เป็นไปตามหลักวิชาการ
2. การสอนเชิงวิชาการในการนำเสนอผลงานค้นคว้าวิทยานิพนธ์ในรูปของการนำเสนอแบบปากเปล่าด้วยสื่อต่างๆ และการเขียนบทความวิชาการในรูปของรายงานหรือบทความในวารสารวิชาการที่ส่งตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร
2. การสอนเชิงวิชาการในการนำเสนอผลงานค้นคว้าวิทยานิพนธ์ในรูปของการนำเสนอแบบปากเปล่าด้วยสื่อต่างๆ และการเขียนบทความวิชาการในรูปของรายงานหรือบทความในวารสารวิชาการที่ส่งตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร
1. ความก้าวหน้าของผลงานเขียนทางวิชาการที่ค้นคว้าที่ให้ปฏิบัติตามหัวข้อวิทยานิพนธ์
2. การนำเสนอรายงานวิทยานิพนธ์โดยวิธีการสอบแบบปากเปล่าและรูปเล่มวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้อ
2. การนำเสนอรายงานวิทยานิพนธ์โดยวิธีการสอบแบบปากเปล่าและรูปเล่มวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้อ
ทักษะในการในวิเคราะห์ ผลข้อมูล รวบรวมและเรียบเรียน เขียน รายงานวิทยานิพนธ์ และนำเสนอผลงานวิทยานิพนธ์ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการและเข้าใจได้อย่าแท้จริง
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการเขียนรายงานและนำเสนอรายงานวิทยานิพนธ์เชิงวิชาการแบบปากเปล่
เล่มรายงานวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้องครบถ้วนตามรูปแบบที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ๅ | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | MSCGT601 | วิทยานิพนธ์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1, 3 และ 5 | การสังเกตพฤติกรรมการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายและจริยธรรมและจรรยาบรรณในการวิเคราะห์ข้อมูล การส่งผลงานการเขียนรายงานผลวิทยานิพนธ์ ตรงเวลา | 1 - 17 | 20 % |
2 | 2, 3, 4 และ 5 | การวัดทักษะการปฏิบัติงานค้นคว้าสืบค้น และวิเคราะห์ข้อมูลการสืบค้น และการประมวลผลข้อมูลจากบทความทางวิชาการด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่ทันสมั | 3-6 | 30% |
3 | 4 และ 5 | การวัดผลงานเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ทางวิชาการด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์สากล | 7-14 | 25% |
4 | 4 และ 5 | การวัดผลงานเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ทางวิชาการด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์สากล | 7-14 | 25 % |
1. สุนทร โครตบรรเทา. 2559. หลักการทำและการเขียนวิทยานิพนธ์และการวิจัย".
สำนักพิมพ์ ปัญญาชน. 352 น.
สำนักพิมพ์ ปัญญาชน. 352 น.
1. CABI : http://www.cabi-publishing.org/AtoZ.asp?Category=Journals เป็น
ฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ (Full Text)
AO : http://wwwlib.umi.com/dissertations/search เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและ
บทคัดย่อด้านการเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง
Thai Patents : http://www.ipic.moc.go.th/ เป็นฐานข้อมูลสิทธิบัตรไทย ฐานข้อมูลบรรณานุกรมรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ (วช.) : http://www.riclib.nrct.go.th/ เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและบทคัดย่อ การสืบค้นข้อมูลโครงการวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) : http://www.riclib.nrct.go.th/ เป็นให้ข้อมูลบรรณานุกรม รายงานการวิจัย และวิทยานิพนธ์ ประมาณ 100,000 ชื่อเรื่อง ฐานข้อมูลงานวิจัยของประเทศไทย : http://www.nstda.or.th/grants/ เป็นแหล่งข้อมูลที่รวบรวมผลงานวิจัยของประเทศ เพื่อเผยแพร่แก่ประชาชนรวมทั้งให้บริการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต
ฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ (Full Text)
AO : http://wwwlib.umi.com/dissertations/search เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและ
บทคัดย่อด้านการเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง
Thai Patents : http://www.ipic.moc.go.th/ เป็นฐานข้อมูลสิทธิบัตรไทย ฐานข้อมูลบรรณานุกรมรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ (วช.) : http://www.riclib.nrct.go.th/ เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและบทคัดย่อ การสืบค้นข้อมูลโครงการวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) : http://www.riclib.nrct.go.th/ เป็นให้ข้อมูลบรรณานุกรม รายงานการวิจัย และวิทยานิพนธ์ ประมาณ 100,000 ชื่อเรื่อง ฐานข้อมูลงานวิจัยของประเทศไทย : http://www.nstda.or.th/grants/ เป็นแหล่งข้อมูลที่รวบรวมผลงานวิจัยของประเทศ เพื่อเผยแพร่แก่ประชาชนรวมทั้งให้บริการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต
1. TIAC Reference Databases (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/search-order1_db_od.html) 2. Document Delivery Service (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/search-order1_odall. html)
3. Library Catalog (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/library-catalog_eng1.html)
4.Journals : Thai and English (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/search-order1_e-journal.htm)
5. Thai Theses Database (เว็บไซต์คือ http://thesis.tiac.or.th)
6. ฐานข้อมูลวิจัยของประเทศไทย (เว็บไซต์คือ http://www.thairesearch.in.th)
Seminar and Training (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/seminar-training1_eng.html)
Service Hours (เว็บไซต์คือ http://www.tiac.or.th/contact-tiac1_service%20hours.html)
ฐานข้อมูลจดหมายเหตุดิจิทัลhttp://www.tiac.or.th/darchive/danstda_main.html)
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในระหว่างการเรียนรู้และปฏิบัติการ
1.2 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
1.2 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
2.1 ผลตอบรับ การให้ความสนใจในชั้นเรียนจากผู้นักศึกษา
2.2 ผลการเรียนและความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักสากลของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนและความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักสากลของนักศึกษา
3.1 การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์ผู้ร่วมสอนเรื่องการจัดการเรียนการสอน
ทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ที่ไม่ได้เป็นทีมร่วมสอน หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่ อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
5.1 ดำเนินการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล
5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีหรือตามข้อเสนอแนะตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ในรายวิชา หรือ อาจารย์ผู้สอนที่รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธการสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อ พิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป
5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีหรือตามข้อเสนอแนะตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ในรายวิชา หรือ อาจารย์ผู้สอนที่รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธการสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อ พิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป