การออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับเชิงสร้างสรรค์

Creative Textile, Fashion and Jewelry Design

    1.1 เพื่อให้มีทักษะการพัฒนางานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ในเชิงสร้างสรรค์     1.2 เพื่อให้มีทักษะการออกแบบงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ในเชิงสร้างสรรค์     1.3 เพื่อให้สามารถประยุกต์งานออกแบบงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับให้เป็นแบบร่วมสมัย     1.4 เพื่อให้สามารถประยุกต์งานออกแบบงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับจากต้นทุนวัฒนธรรมท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม     1.5 เพื่อให้สามารถประยุกต์งานออกแบบงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับให้มีประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลาย และสอดคล้องกับบริบทสังคมปัจจุบัน
           เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังเป็นพื้นฐานและเตรียมความพร้อมในการศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนารูปแบบ สิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับเชิงสร้างสรรค์ให้เป็นรูปแบบร่วมสมัย การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าในเชิงพาณิชย์โดยประยุกต์ใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม การประยุกต์งานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับเชิงสร้างสรรค์ให้มีประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลายและให้เกิดความยั่งยืน
-    อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน   
-    อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง / สัปดาห์
1.1.1  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2.1 บรรยายและสอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพทางด้านงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ เชิงสร้างสรรค์ 1.2.2  ขานชื่อนักศึกษาเมื่อเข้าชั้นเรียน ตามกำหนดเวลาของเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 
          1.3.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ           1.3.2  การตรวจสอบเวลาเรียน และการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
2.1.1  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ในงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ 2.2.2 สาธิตการออกแบบงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ แล้วเลือกวิธีการออกแบบ ให้มีความสวยงาม และประโยชน์ใช้สอย
2.3.1   สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค  จากโจทย์ที่เน้นความคิดสร้างสรรค์ด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ 2.3.2   สอบปฏิบัติย่อยระหว่างภาค ในเนื้อหาเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
3.1.1  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์  3.1.2  มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน     
1) สาธิตการปฏิบัติงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ เชิงสร้างสรรค์ แล้วให้ นักศึกษาวิเคราะห์ผลงานออกแบบของตนเอง พร้อมนำเสนอ   2) สาธิตการปฏิบัติงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับเชิงสร้างสรรค์ เป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่ม แล้วให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาในงานออกแบบ
3.3.1   สอบปฏิบัติงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ลักษณะของการแก้ปัญหางานออกแบบ (Problem Base Learning) 3.3.2   ผลงานหรือชิ้นงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ การปฏิบัติงานของนักศึกษา
4.1.1  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1  มอบหมายงานรายกลุ่ม รูปแบบของรายงาน หรือกิจกรรมกลุ่ม ที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ เชิงสร้างสรรค์
4.3.1  ประเมินจากผลงานที่ร่วมกันอภิปราย  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.2  ประเมินจากรายงานกลุ่ม หรือกิจกรรมกลุ่ม ที่มอบหมาย   
5.1.1  สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติงานสืบค้นข้อมูลโดยจากอินเตอร์เน็ต และหนังสือด้านออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ รวมทั้งสาธิตการนำเสนอผลงานออกแบบ
5.3.1  ประเมินผลจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในผลงานปฏิบัติด้านออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ  5.3.2   ประเมินผลจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานกลุ่ม หรือรายบุคคล
6.1.1  มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ   6.1.2  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1  สอนปฏิบัติ หรือสาธิต การออกแบบเชิงสร้างสรรค์ ด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ให้นักศึกษาดูเป็นตัวอย่าง 6.2.2  สอนโดยใช้การทำโครงงานที่เน้นการแก้ปัญหา ในงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ 
 
6.3.1 ประเมินผลจากผลงานออกแบบของนักศึกษาที่ทำตามตัวอย่างจากคำแนะนำ 6.3.2  ประเมินผลจากผลงานออกแบบที่ได้จากการทำโครงงานออกแบบที่เน้นการแก้ปัญหา  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ114 การออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับเชิงสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3.1, 4.1, 5.1 - การปฏิบัติงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้น - ความสามารถในการวิเคราะห์งาน ผลงานการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้น รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1 -การเข้าชั้นเรียน / ความตั้งใจ - ความรับผิดชอบ - การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์,2556. การคิดเชิงสร้างสรรค์ กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย. นิติ นิมะลา และ ธนสิทธิ์ จันทะรี การออกแบบเครื่องประดับสตรีร่วมสมัยจากแรงบันดาลใจสำริดบ้านเชียงด้วยเทคโนโลยีสามมิติ วารสารวิจัยและพัฒนา 
                    มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 9(3) กรกฎาคม 2560 อรัญ  วานิชกร  องค์ความรู้ ภูมิปัญญาไทย : การออกแบบและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย รายงานการวิจัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รังสรรค์ ธนะพรพันธ์, ๒๕๕๒. “ทุนวัฒนธรรม” เอกสารปาฐกถา พิมพ์ครั้งที่ 2.  กรุงเทพฯ : พี. เพรส อรุณี  ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์, ๒๕๕๔. “ทุนทางวัฒนธรรมในแบบจำลองการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ” รายงานการประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี                               ๒๕๕๔. มปพ.
สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย.2557, “ศิลปะร่วมสมัย” (ออนไลน์), สืบค้นจาก  http://www.ocac.go.th/index.php? (วันที่สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2556) สุภาวี ศิรินคราภรณ์. 2550, “ศิลปะเครื่องประดับกายสัมผัสกับการสักการะทางจิตวิญญาณ” วารสารวิชาการศิลปะและการออกแบบ ฉบับที่ 2/2550 คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร  (หน้า 33-45) . สุภาวี ศิรินคราภรณ์. 2553, “แนวทางการพัฒนาเมืองสวยด้วยการสร้างสรรค์งานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย : กรณีศึกษาภูมิปัญญาและวิถีชีวิตแห่งชุมชนบ้านแม่หมีใน จังหวัดลำปาง กับพัฒนาการการสร้างสรรค์สุนทรียภาพของเครื่องประดับชาติพันธุ์ร่วมสมัย” สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม สารานุกรมวิกิพีเดีย. 2557, “ศิลปะร่วมสมัย” (ออนไลน์) สืบค้นจาก th.wikipedia.org/wiki/      (วันที่สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2556) จอมจรัญ มะโนปัน. 2555, “การประยุกต์ลวดลายศิลปะปูนปั้นวัดจุฬามณีเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบเครื่องประดับเงิน เสริมสร้างอัตลักษณ์ของจังหวัดพิษณุโลก”วิทยานิพนธ์ ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก. ธนกฤต  ใจสุดา. (2556) “การออกแบบและพัฒนาเครื่องประดับเงินร่วมสมัยจากอัตลักษณ์ชาวเขาเผ่าเมี่ยนเพื่อเพิ่มมูลค่า : กรณีศึกษาบ้านป่ากลาง อำเภอปัว 
                จังหวัดน่าน” วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ทวีศักดิ์  มูลสวัสดิ์. 2556, “นักออกแบบเครื่องประดับร่วมสมัยของไทย” นิตยสาร I-Design  ฉบับที่ 133 พฤศจิกายน – ธันวาคม หน้า (20-25). รสชง ศรีลิโก.“เครื่องประดับ” ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 34 เรื่องที่ 4 (e-book) (ออนไลน์),                          สืบค้นจากhttp://kanchanapisek.or.th/kp6 . (วันที่สืบค้น 1 ธันวาคม 2556).  
 2.1  ภาพตัวอย่างรูปแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ เชิงสร้างสรรค์    2.2  ข้อมูลจากสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม    2.3  ข้อมูลด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ จากศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (ศ.ศ.ป)
   3.1 ข้อมูลจากสารานุกรมที่เกี่ยวข้องกับงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ    3.2 ข้อมูลจากห้องสมุดที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบ    3.3 ข้อมูลจากเว็ปไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้คือ      1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน     1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา 2.2   การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 2.4   การตรวจผลงานของนักศึกษา ที่เป็นผลการปฏิบัติงานเขียนแบบ
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด 3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ซึ่งมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน 4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา