การสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยในการทำงาน

Food Sanitation and Work Safety

1.1 ให้นักศึกษารู้ในเรื่องเกี่ยวกับสุขาภิบาลและความปลอดภัยอาหาร สามารถเข้าใจหลักการในการควบคุมให้อาหารมีความปลอดภัย
1.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รู้ถึงอันตรายและโรคที่เกิดจากอาหาร สาเหตุของการเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับอาหาร การแพร่เชื้อและวิธีการป้องกัน
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ถึงหลักการทางด้านสุขวิทยาส่วนบุคคลของผู้ประกอบการอาหาร และ
สุขลักษณะที่ดีในการผลิตอาหาร
1.4 ผู้เรียนเข้าใจในเรื่องของข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับสุขาภิบาลอาหาร
1.5 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้การคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหาร มาตรฐานอาหารและการปรับมาตรฐานอาหาร
2.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย สอดคล้องกับบริบทสังคมในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงความสำคัญของงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคม และชุมชนได้
ศึกษาหลักการสุขาภิบาลอาหาร ความปลอดภัยของอาหาร สุขลักษณะของผู้สัมผัสอาหาร โรคและโทษที่เกิดจากอาหาร กฎหมายและมาตรฐานควบคุมการผลิตอาหารที่เกี่ยวข้องกับสุขาภิบาลและความปลอดภัยในการทำงาน
3.1 วันพุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 083 5564163
3.2  e-mail; wanvimon.pumpho@gmail.com เวลา 20.00 - 22.00 น. ทุกวัน
˜ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไข้ข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้
š มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
- การสอนใช้การสอนแบบสื่อสองทาง โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการ ตั้งคำถามหรือคำตอบ หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรมในโอกาสต่าง ๆ
- สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในคาบเรียนโดยการยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสื่อต่าง ๆที่กำลังเป็นที่สนใจ โดยเน้นความรับผิดชอบต่อสังคม การมีจิตสำนึก การรับผิดชอบต่อตนเอง
- การสอนภาคทฤษฎีมีการเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
- การสังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน และความสนใจ
- ประเมิณผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย และส่งงานตรงเวลาที่กำหนด
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียนและการส่งรายงาน
˜ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
˜ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
- ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อ power point และ Prezi เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าจากให้นำเสนองานสร้างสรรค์ โดยใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม
- การสอบกลางภาค และการสอบ    ปลายภาค
- การค้นคว้าและการจัดทำรายงานที่ได้รับมอบหมาย การส่งรายงาน
- ประเมิณจากการนำเสนอผลการค้นคว้า
˜ มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- ให้นักศึกษาฝึกคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษาในเรื่องมาตรฐานและความปลอดภัยของอาหาร
- ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ
š สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเพื่อนที่สนิท
- กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน และหมุนเวียนความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในการรับผิดชอบหน้าที่ที่หลายหลาย
-จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา
-ผู้สอนประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
-ผู้สอนประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และขณะปฏิบัติงานกลุ่ม
˜ มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับธุรกิจอาหารและโภชนาการ
˜ สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร และโภชนาการโดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
- ใช้สื่อและวิธีการสอนที่นาสนใจชัดเจน งายตอการติดตามทําความเขาใจประกอบการสอนในชั้นเรียน
- การสอนโดยมีการนําเสนอ ขอมูลและ กระตุนใหนักศึกษาเห็นประโยชนจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอและสืบคนขอมูล แนะนําเทคนิคการสืบคนขอมูลและแหลงขอมูล
- การมอบหมายงานที่ตองมีการรวบรวม ค้นคว้าด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีมเน้นสืบคนขอมูลดวยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนําเสนอทั้งในรูปเอกสารและดวยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีการสร้างงานให้เป็นระบบของศาสตร์-ศิลป์ มีการอ้างอิง
- การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค
- ประเมินทักษะการใช้สื่อและทักษะการใช้ภาษาพูดจากการอภิปรายในชั้นเรียน
- ประเมินทักษะการสืบค้นข้อมูลและทักษะการใช้ภาษาเขียนจากรายงานปฏิบัติการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFN109 การสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยในการทำงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 16 30 % 30 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา วิเคราะห์กรณีศึกษา เสนอผลงาน /วิเคราะห์ รายงานผลการศึกษาค้นคว้า /แบบทดสอบหลังเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20 %
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์และงานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 10%
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร รายงานผลการศึกษาค้นคว้า 15
วรรณวิมล  พุ่มโพธิ์ (2561). เอกสารประกอบการสอน วิชาการสุขาภิบาลและความปลอดภัยในการทำงาน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
ข้อมูลจากเอกสารตำราวิชาการ งานวิจัย นิตยสาร วารสาร จุลสาร ข้อมูลจาก web site และ รายการอาหารทางโทรทัศน์ วิทยุ
กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (2553) คู่มือหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร. พิมพ์ครั้งที่ 1 โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ : กรุงเทพมหานคร.
จักรพันธุ์ ปัญจะสุวรรณ. (2542). พิษภัยในอาหาร.โอ.เอส.พริ๊นติ้ง เฮ้าส์: กรุงเทพมหานคร.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 193 พ.ศ.2543 เรื่อง กรรมวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษา. กระทรวงสาธารณสุข.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 342 พ.ศ.2543 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิตและ เก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย. กระทรวงสาธารณสุข.
สุพจน์ บุญแรง (2552). คุณภาพและความปลอดภัยทางอาหารของผักอินทรีย์สดพร้อมบริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 1 คณะเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ . เชียงใหม่โรงพิมพ์ แสงศิลป์ : เชียงใหม่
สุมณฑา วัฒนสินธุ์. (2543). ความปลอดภัยของอาหาร (การใช้ระบบ HACCP) .สำนักพิมพ์ สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น): กรุงเทพมหานคร.
สุวิมล กีรติพิบูลย์. (2547). GMP ระบบจัดการและควบคุมการผลิตอาหารให้ปลอดภัย. สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุ่น): กรุงเทพมหานคร
ให้นักศึกษาประเมินการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเป็นรายบุคคลอย่างอิสระ โดยทุกคนประเมิน ประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียน การสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัย และแบบประเมินของหลักสูตรฯ ซึ่งดำเนินการโดยผู้รับผิดชอบที่ คณะกรรมการหลักสูตรมอบหมาย
2.1 ข้อมูลป้อนการประเมินการสอน โดยอาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาให้ข้อมูลป้อนกลับได้ทุก โอกาสที่เข้าสอน
2.2 การสังเกตและประเมินการสอน โดยมีคณะกรรมการหลักสูตรฯ จัดให้มีการสังเกตและ ประเมินการสอนในชั้นเรียนของอาจารย์เป็นรายบุคคล ตามแบบประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง โดยอาจารย์จาก ภายในหลักสูตรฯ หรือภายนอกหลักสูตร
2.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอน ในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักศึกษา
- ข้อมูลจากการประเมินการสอนจากทุกแหล่งข้อมูลมาเป็นแนวทางการปรับปรุงการสอน รวมถึง ข้อมูลจากการวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 มีการสอบถามความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็นของนักศึกษาระหว่างเรียนและระหว่างฝึก ปฏิบัติในสถานประกอบอาหาร
4.2 มีการแบ่งสอบกลางภาค และการแจ้งผลการสอบกลางภาคให้นักศึกศาทราบ เพื่อทำความเข้าใจและวางแผนการพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกัน เพื่อนำไปสู่มาตรฐาน
 
5.1 พิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอน การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน เพื่อทบทวนประสิทธิภาพ
5.2 ภายหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการเรียนการสอน ประเมินผลรายวิชาภายในไม่เกิน 1 สัปดาห์ และนำผลมาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาต่อไป