โลหะวิทยาในงานวิศวกรรม

Engineering Metallurgy

รู้และเข้าใจปฏิบัติการเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในทาง โลหะวิทยา โครงสร้างของโลหะและการเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของ โลหะ โลหะผสม แผนภาพสมดุล แผนภาพสมดุลของเหล็ก-เหล็กคาร์ไบด์ แผนภาพสมดุลของโลหะสามธาตุ การวิเคราะห์โครงสร้างมห ภาคและจุลภาคของโลห
1.  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในทางโลหะวิทยา  2.  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของโลหะและการเกิดผลึก  3.  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปของโลหะ  4.  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการโลหะผสม  5.  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแผนภาพสมดุล    6.  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแผนภาพสมดุลของเหล็ก-เหล็กคาร์ไบด์  7.  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแผนภาพสมดุลของโลหะสามธาตุ  8.  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงสร้างมหภาคและ จุลภาคของโลหะ 
เป็นการศึกษาปฏิบัติการเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ ในทางโลหะวิทยา โครงสร้างของโลหะและการเกิดผลึก การเปลี่ยน รูปของโลหะ โลหะผสม แผนภาพสมดุล แผนภาพสมดุลของเหล็กเหล็กคาร์ไบด์ แผนภาพสมดุลของโลหะสามธาตุ การวิเคราะห์ โครงสร้างมหภาคและจุลภาคของโลหะ 
ระหว่างเวลา 15.00 - 17.00 น. ณ ห้อง 731
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  (2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  (4) เคารพในคุณค่าและศักดี้ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกตัวอย่างให้เห็นหน้าที่ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม  2. สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย เคารพระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ การเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นต้น  3. ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ กำหนดบทลงโทษ และผลกระทบต่อตนเอง สังคม จากพฤติกรรมดังกล่าว
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  2. สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่า  เป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้  เหมาะสมมากขึ้น
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งต้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ ศึกษา  (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ ศึกษา  (3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ไปค้นคว้า
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ  (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แล้วนำเสนอผลงาน  2. อภิปรายกลุ่ม  3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม  4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้  2. วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย  3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  (2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  (3) สามารถทำงานเป็นทีมและแกไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำ  ตัวอย่างการใช้การศึกษางาน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม  (2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแกไฃป้ญหาอย่าง เหมาะสม  (3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตาม กาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม  (2) มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
1. นำความรู้ไปใช้สนับสนุนการทำโครงงานของนักศึกษา  2. การออกไปปฏิบัติงานจริงในการสร้างและออกแบบงานโครงงาน 
1. ประเมินจากความสำเร็จของโครงงานนักศึกษา  2. ประเมินจากปฏิบัติการสร้างและออกแบบงานโครงงาน  แก้ไข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 34012202 โลหะวิทยาในงานวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียนการมีส่วนร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย การนำเสนอวัสดุช่วยสอน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 ความรู้ สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 9 17 30%
โลหะวิทยาในงานวิศวกรรม
-  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน        -  แบบประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา    -  สรุปผลการประเมินการสอน
-  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  -  ผลการเรียนและผลการท างานกลุ่มของนักศึกษา    -  การสังเกตการณ์ของทีมผู้สอน
-  การประชุมเชิงปฏิบัติการอาจารย์ผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  -  การวิจัยชั้นเรียน
-  ประชุมอนุมัติเกรดนักศึกษา  -  ทวนจากคะแนนและงานที่มอบหมาย 
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมิน ข้อ 1 และข้อ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอน