ศิลปะประจำชาติ

Traditional Thai Art

รู้ความหมาย ความสำคัญของศิลปะประจำชาติและที่มาความบันดาลใจของลวดลายไทย เข้าใจรูปแบบเนื้อหาและลักษณะของลายแบบต่างๆ ปฏิบัติงานศิลปะประจำชาติด้วยวัสดุต่างๆ เช่น ดินสอ เครยอง พู่กัน เป็นต้น รู้ความหมาย ความสำคัญของจิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย นาฏกรรมและวรรณกรรมไทย เห็นคุณค่าของศิลปะประจำชาติ
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ศิลปะประจำชาติ สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับพื้นฐานศิลปะประจำชาติ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย นาฏกรรมและวรรณกรรมไทย
ศึกษาเกี่ยวและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย นาฏกรรมและวรรณกรรมไทย
Study and practice of the fundamentals of traditional Thai arts such as painting , sculpture, architecture, dramatic works and literature.
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
ข้อ 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน) ข้อ 2  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน) ข้อ 3  มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบ นำไปสู่การมีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ เช่น สามารถนำองค์ความรู้ ความสามารถ ในรายวิชา ไปช่วยกิจกรรมงานของสถาบัน
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในรายวิชา กิจกรรมของสถาบัน
ข้อ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ 2  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน) ข้อ 3  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ข้อ 4  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)     
ใช้การเรียนการสอน โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาศิลปะประจำชาติ ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชาในแต่ละหน่วย สร้างความรู้ความเข้าใจสิ่งที่เป็นลักษณะของศิลปะประจำชาติกับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมประจำชาติ
2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
                  2.3.2 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติในชั้นเรียนตามที่ได้รับมอบหมาย
ข้อ 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน) ข้อ 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน) ข้อ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
อธิบายถ่ายทอดองค์ความรู้หลักทฤษฏีให้สอดคล้องกับหลักการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเข้าใจแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ตามกระบวนการ
ประเมินจากการวัดผลสอบกลางภาคและปลายภาคการศึกษา ประเมินจากผลงานการปฏิบัติงานของนักศึกษาในแต่ละหน่วย  และการรวบรวมผลงานปฏิบัติการตลอดทั้งเทอม  
ข้อ 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน) ข้อ 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
 (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
การมอบหมายงานให้ฝึกปฏิบัติของแต่ละหน่วยองค์ความรู้ โดยใช้หลักทฤษฏีมาปรับใช้กับการปฏิบัติผลงานตามระยะเวลาที่ผู้สอนกำหนด นำองค์ความรู้ในรายฝึกไปฝึกปฏิบัติและสร้างสรรค์ในกิจกรรมของสถาบัน
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการฝึกปฏิบัติงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม ความรับผิดชอบต่องานของตนเองและกลุ่ม การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
ข้อ 1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน) ข้อ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ๒ ข้อ 3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยอ้างอิงแหล่งข้อมูล ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการแนะนำที่เหมาะสมกับนักศึกษา 
           ประเมินจากการสืบค้นข้อมูล โดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการค้นหาข้อมูล ประเมินจากการอธิบายและการนำเสนอ
ข้อ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ข้อ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                           ข้อ 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
               ใช้วิธีการสอนฝึกปฏิบัติ ด้วยวิธีการคัดลอกตามแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามรูปแบบของตนเอง
ประเมินจากผลการปฏิบัติงานและผลงานสรุปของแต่ละหน่วยองค์ความรู้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (3) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา (1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน (1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง (1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม (1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ (2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง (3) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BFACC401 ศิลปะประจำชาติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การนำเสนอผลงาน สอบกลางภาค การนำเสนอผลงาน สอบปลายภาค การนำเสนอผลงาน สอบกลางภาค การนำเสนอผลงาน สอบปลายภาค 3,4,5,6,8 9 11,13,15 17 25% 10% 25% 10%
2 ประเมินการนำเสนอการค้นคว้าและการนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ประเมินการนำเสนอการค้นคว้าและการนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือ          

ศิลปะประจำชาติ เล่ม 1 ศิลปะประจำชาติ เล่ม 2 ลวดลายไทย คู่มือลายไทย สมุดตำราลายไทย กระหนกในดินแดนไทย จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย นาฏกรรมไทยและวรรณกรรมไทย
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ศิลปะไทยและรูปแบบศิลปกรรมไทย
          - โพธิ์ ใจอ่อนน้อม คู่มือลายไทย โรงพิมพ์ธนาคารออมสิน พ.ศ. 2522
          - พระเทวาภินิมมิต สมุดตำราลายไทย โรงพิมพ์คุรุสภา พ.ศ. 2530.
          - สันติ เล็กสุขุม กระหนกในดินแดนไทย สำนักพิมพ์มติชน พ.ศ. 2539.
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ศิลปะไทยและรูปแบบศิลปกรรมไทย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย