ธุรกิจและสิ่งแวดล้อม

Business and Environment

1. เข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
2. เข้าใจเกี่ยวกับองค์การธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม
3. เข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจที่เป็นปัจจุบัน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายในธุรกิจที่เป็นปัจจุบัน
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในธุรกิจที่เป็น
ปัจจุบัน
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของธุรกิจ สภาพแวดล้อมของธุรกิจทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจการเมือง เทคโนโลยีและสภาพภูมิศาสตร์ แนวโน้มและทิศทางของธุรกิจ ผลกระทบต่อการดำเนินงานทางธุรกิจ การปรับตัวของธุรกิจต่อสภาพแวดล้อมในยุคปัจจุบัน การสร้างจิตสำนึกในการดำเนินธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่สังคม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
คุณธรรมจริยธรรม  Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)  บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม  1.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะคุณธรรมจริยธรรม  โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก ( ) และความรับผิดชอบรอง ( ) 
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีสามารถทำงานเป็นทีม เข้าใจตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริต เคารพสิทธิและรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อื่น เห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีวินัย ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาบรรณทาง
วิชาการและวิชาชีพ
1.2 วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้
1.2.2 วิธีการสอนโดยการบรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
1.2.2 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม และวิเคราะห์ โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.2.4 ให้นักศึกษาเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมทำบุญตักบาตรและพิธีบายศรีสู่ขวัญ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนและติดตามงานที่ได้มอบหมาย
1.3.2 ประเมินจากการรายงานผล และส่งงาน
1.3.3 ประเมินผลจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
1. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
ü
2. สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
1.1.1
ü
3. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.1.2
4. กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
5. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน
6. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
7. อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
2.2.2 อภิปรายหลังการสอน
2.2.3 การทำงานกลุ่ม และนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า
2.2.4 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning)
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
1) การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
ü
2) การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.1.2
ü
3) การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.1.1
4) การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
5) ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
6) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
7) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
2.3.2 นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
2.3.2 นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
ü
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2.1.1
ü
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.1.2
3. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
4. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อน ร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
5. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
6. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
2.2.2 อภิปรายหลังการสอน
2.2.3 การทำงานกลุ่ม และนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า
2.2.4 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning)
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
ü
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.1.1
2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
3. ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง
4. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
5. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
6. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
ü
7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
2.1.2
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
2.3.2 นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา
Brilliance ความเฉลียวฉลาด (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
ความสามารถในการประยุกต์ความรู้ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการประกอบธุรกิจ
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
1. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
2. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา
3. กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผน การทำงานเป็นทีม
ü
4. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
3.1.1
ü
5. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
3.1.2
6. การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
7. จัดให้ในรายวิชา มีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่าง ๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
3.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
3.2.2 อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
1. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
2. การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ
3. การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
4. ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
5. ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา
ü
6. ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
3.1.1
7. ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
ü
8. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
3.1.2
3.3.1 ให้นักศึกษาประเมินตนเอง ในแต่ละกลุ่ม
3.3.2 ประเมินจากผลงานการนำเสนอ
3.3.3 สังเกตการณ์ความมีส่วนร่วมในการถาม-ตอบ-วิเคราะห์
Learning การเรียนรู้ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ
การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
4. มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
ü
5. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
4.1.2
ü
6. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.1.1
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
ü
พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
4.1.1
พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
ü
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
4.1.2
ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา
นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา และตอบข้อซักถามของอาจารย์
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวาง และเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนโดยเลือกใช้รูปแบบของการสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสมและสามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสมในการสร้างฐานข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
3. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
ü
5. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
5.1.1
ü
6. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.3
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล ที่ต้องไปเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ สอบถาม บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงาน และนำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา จัดส่งรายงาน และการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
ü
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
5.1.1
2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
ü
3. พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
5.1.3
4. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
5.3.1 ประเมินจากการส่งงานตามกำหนด
5.3.2 ประเมินจากรายงานผลความก้าวหน้าที่มอบหมายเป็นระยะ
5.3.3 ประเมินจากผลการประเมินตนเองและกลุ่ม
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
ü
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
6.1.1
จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
ü
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
6.1.1
นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
จินตนา บุญบงการ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจพิมพ์ครั้ง 8 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม
ณัฐพันธ์ เขจรนันท์. การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : วีพริ้นท์ (1991), 2552.
จินตนา บุญบงการ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจพิมพ์ครั้ง 8 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม
ณัฐพันธ์ เขจรนันท์. การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : วีพริ้นท์ (1991), 2552.
จินตนา บุญบงการ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจพิมพ์ครั้ง 8 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม
ณัฐพันธ์ เขจรนันท์. การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : วีพริ้นท์ (1991), 2552.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ
การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ
การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
** 2.3 การสังเกตการณ์สอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
** 3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร