การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

มีความรู้ความเข้าใจในแนวความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เข้าใจรูปแบบ วิธีการ ภาษาเทียม ภาษาคอมพิวเตอร์ คำสั่งในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่าง ๆ มีทักษะในการนำความรู้ในด้านการเขียนโปรแกรม และสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหากับการกับข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านระบบสารสนเทศของสำนักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา
การเขียนรหัสเทียม การเขียนขั้นตอนวิธี และการเขียนผังงาน ภาษาสำหรับเขียนโปรแกรม ประเภทข้อมูล แบบต่างๆ ค่าคงที่ ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ คำสั่งในการควบคุมการทำงาน อาร์เรย์ โปรแกรมย่อยและอาร์กิวเม้นต์ วิธีการนำข้อมูลเข้า - ข้อมูลออกอย่างง่าย การเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับแฟ้มข้อมูล รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ดี เทคนิคการแก้ปัญหาต่าง ๆ
75 ชั่วโมง
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ประกอบด้วย

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวิจัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์สรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฏระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม มีจรรยาบรรทางวิชาการและวิชาชีพ
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเช้าร่วมกิจกรรม การแต่งการที่เป็นไปตามระเบียบของทางมหาวิทยาลัย การทำงานกลุ่มต้อง ต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความชื่อสัตย์โดยต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเช้าร่วมกิจกรรม ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การกระทำทุจริตในการสอบ
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบของวิธีการทางโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การใช้งานข้อมูลแบบต่าง ๆ มีความรู้ในภาษาเทียม การเขียนขั้นตอนวิธี การเขียนผังงาน ภาษาสำหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อแก้ปัญหาในด้านต่าง ๆ ในองค์กร โดยครอบคลุมถึง
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ประกอบด้วย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และ ทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหา
2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
2.1.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.1.4 มีความรู้ในแนวกว้าง เพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ โดยเน้นทางหลักการทางทฤษฏี กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในการวิเคราะห์ การออกแบบ และเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
     ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
2.3.1   การทดสอบย่อย
2.3.2   การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
มีวิจารณญาณในการออกแบบการเขียนโปรแกรมอย่างมีระบบและถูกต้อง สามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ โดยประยุกต์ให้เหมาะสมกับการทำงานในองค์กรธุรกิจ โดยมีแนวทาง ดังนี้

คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
3.2.1   บรรยาย
3.2.2   ให้แบบฝึกหัด
3.2.3   ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
นำเสนอผลงานจากแบบฝึกหัด การอภิปรายในชิ้นงาน การออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายวิธีการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนในองค์กรในหน่วยงานสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อนำการออกแบบและเขียนโปรแกรมไปประยุกต์ให้ตรงกับบุคคลที่จะต้องใช้ภายในองค์กร มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเอง ดังนี้
4.1.1  สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถารการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่ม ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.2  มีความรับผิดชอบในการทำงานของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
4.1.3  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
4.1.4  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
ในการสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานกรับผู้อื่น หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณืบุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้
4.2.1  สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.2.2  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3  สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.2.4  มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.2.5  มีภาวะผู้นำ
4.3.1  ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรีน
4.3.2  สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
สามารถวิเคราะห์รูปแบบการออกแบบโปรแกรมที่ดีได้อย่างถูกต้อง ประยุกต์การเขียนโปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการเขียนและปากเปล่า ใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม ใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอและสารสนเทศที่ถูกต้อง ดังนี้
5.1.1  มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.1.2  สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของการสื่อสาร การนำเสนออย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
กำหนดให้นักศึกษาทำงาน โดยกำหนดรูปแบบงานที่ให้นักศึกษาสามารถเพื่อเทคนิคการเขียนโปรแกรมในการแก้ไขปัญหาทางธุรกิจได้หลากหลายรูปแบบ นำเสนอผลงาน จัดส่งผลงาน
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้ทฤษฏี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสํานึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและ ผู้อื่น มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพสังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสํานึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลําดับความสําคัญ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ของความเป็นมนุษย์ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สําคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และ พัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง มีความรู้และความเข้าใจในสาระสําคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และ สามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดํารงชีวิตประจําวัน มีความรู้และความเข้าใจในสาระสําคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัด โครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดําเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจใน สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบ คอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกําหนด สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนําไปประยุกต์ รู้เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชํานาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในงานได้จริง สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง สามารถคิดค้นทางเลือกวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถใน การตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทําให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพ ที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพ ความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่าง สร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่ เหมาะสม มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความ ช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของ ผู้นํา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืน อย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทาง ธุรกิจ และชีวิตประจําวัน สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและ เทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนําเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมี ประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จําเป็นต่อการทําธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จําเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถแนะนําประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อ ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนําเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดําเนินงาน ของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BBAIS904 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 1.5, 1.7 2.1-2.5, 2.7-2.8 3.1-3.4 5.1 - การทดสอบย่อย 2 ครั้ง (ครั้งละ 15 คะแนน) - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 4 และ 12 9 17 30% 25% 25%
2 1.1, 1.3, 1.5, 1.7 2.1-2.5, 2.7-2.8 3.1-3.4 4.1,4.6 5.1-5.4 - การส่งงานตามที่มอบหมายรายบุคคล ตลอดภาค การศึกษา 10%
3 1.2 2.2 3.2 4.2 5.2 - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมทางสังคมและจริยธรรม ตลอดภาค การศึกษา 10%
  ธีรวัฒน์  ประกอบผล, “คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษา C ฉบับสมบูรณ์”  กรุงเทพฯ : ซิมพลิฟาย, 2556.
  พิรพร  หมุนสนิท. พื้นฐานการโปรแกรมบนเว็บ. บริษัท เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์ม จำกัด, ผศ.      วิจักษณ์ ศรีสัจจะเลิศวาจา, ดุษฎี ประเสริฐธิติพงษ์. การเขียนโปรแกรมภาษาซี. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545
  วิทูรย์ คงผล, การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจเบื้องต้น, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรั้ง, 2555
          วัฒนา พันลำเจียก และคณะ.  การโปรแกรมคอมพิวเตอร์.  บริษัททริปเพิ้ล เซเว่น มัลติเทค จำกัด, 2547.   
คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษา C
ไม่มี
-  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-  การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
-  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-  ผลการสอบ
-  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-  การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
-  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-  การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
-  การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอและผลการสวนสอบในผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4