การประเมินผลกระทบทรัพยากรประมง

Impact Assessment of Fisheries Resources

รู้สภาพปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรประมง เข้าใจการวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทรัพยากรประมง สามารถสร้างมาตรการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบทรัพยากรประมง เข้าใจกระบวนการประเมินผลกระทบทรัพยากรประมง
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ไปเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาสภาพปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรประมง การวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบ มาตรการป้องกันแก้ไข การติดตาม ตรวจสอบ การประเมินผลกระทบทรัพยากรประมง
3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. สาขาวิชาประมง โทร 0862046622
3.2 e-mail;job6942@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
มีคุณธรรมและ จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณ
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย
- จะสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ
มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อ
ให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- นักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
2.2 มีความรอบรู้
การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) โดย
- บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการและทฤษฏี พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
- มอบหมายให้อ่านบทความวารสารทางวิชาการ พร้อมทั้งเขียนรายงานสรุปในเรื่องที่อ่าน และส่งเป็นการบ้าน
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน
- ประเมินจากการอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) โดย
-ในการสอนจะเสริมสร้างการใช้ทักษะเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจและสามารถเชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ
-โดยการใช้สื่อเป็นวีดีทัศน์และ มอบหมายโจทย์ปัญหาให้นักศึกษาได้ฝึกหาข้อมูล วิเคราะห์และเข้าใจวิธีแก้ปัญหาโดยอิงบนหลักการและ/หรือทฤษฎีอย่างถูกต้อง
- โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
4.1 มีภาวะความเป็นผู้นำ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming) โดย
- มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจใน การทำงานร่วมกัน
- ให้นักศึกษาทำงานร่วมกันเพื่อเกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการทำรายงาน และนำเสนองาน
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ประเมินจากความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมในการออกปฏิบัติภาคสนาม
5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดย
- กำหนดให้นักศึกษาอ่านตำรา และบทความทางวิชาการ การจัดทำรายงานให้ใช้หนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
- ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารวิชาการ
- ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอผ่านระบบสารสนเทศ (power point)
- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลเชิงวิชาการ
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ
การสอนแบบปฏิบัติ โดย
- กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะทางวิชาชีพ
- ประเมินจากโครงการกลุ่มในการวางแผนการดำเนินงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2 มีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 4.1 มีภาวะผู้นำ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 ทักษะทางวิชาชีพ
1 BSCAG333 การประเมินผลกระทบทรัพยากรประมง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 2.1, 2.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 6.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 3.1, 3.2, 3.3 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 15%
4 2.1, 2.2, 3.1, 3.2,3.3 การสอบกลางภาค 8 25%
5 5.1, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 3,6,10,14 20%
6 2.1, 2.2, 3.1, 3.2,3.3 การสอบปลายภาค 17 25 %
- เกษม จันทร์แก้ว. 2544.วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ
384 น.
- ธีระ เล็กชลยุทธ.2535. นิเวศวิทยาแหล่งน้ำ.เอกสารเรียบเรียง.คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.105 น.
- ประมาณ พรหมสุทธิรักษ์.2531.เอกสารคำสอนวิชาชลธีวิทยา.คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.190 น.
- R.S.K. Barnes and K.H. Mann.1991.Fundamental of Aquatic Ecology.The University Press, Cambridge.270 pp.
- Michael Jeffries and Derek Mills.1990. Freshwater Ecology.London. 253 pp.
- Kent W.Thornton,Bruce L,Kimmel Forrest,E. Payne.1991.Reservoir Limnology: Ecological perspectives. U.S.A. 283 pp.
รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในลักษณะรายวิชา เช่น wikipedia คำอธิบายศัพท์
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน

1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้

         2.2 ผลการสอบ
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
ระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวัง
จากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา พิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจาการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น ที่

ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการ
ปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี