เคมีสำหรับวิศวกร

Chemistry for Engineers

1. เข้าใจพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม
2. เข้าใจสมบัติของธาตุตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะและธาตุแทรนซิชัน
    พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลนศาสตร์เคมี
    สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
3. นำความรู้ทางเคมีไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและใช้ในชีวิตประจำวัน
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีทางเคมีที่เป็นพื้นฐานสำคัญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
2. นักศึกษาสามารถนำความรู้และทักษะต่างๆ ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหามีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติของธาตุตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะและธาตุแทรนซิซัน พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์หรือตามความเหมาะสม
ตระหนักในคุณธรรม จริยธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบ และกติกาต่างๆ ที่ดีงามของสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกายและตรงต่อเวลา
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญตามลักษณะรายวิชาเคมีสำหรับวิศวกร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องรวมทั้งติดตามความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่เสมอ
     สอนให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการเรียนในรายวิชานี้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน โดยบรรยายทฤษฎีต่างๆทางเคมี เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจหลักการทางเคมี และเน้นฝึกฝนการคำนวณที่สำคัญทางเคมีให้มีความถูกต้องโดยการยกตัวอย่างและใช้แบบทดสอบ พร้อมทั้งเฉลยเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในการแก้ปัญหาโจทย์ต่างๆ รวมทั้งมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำเป็นรายงาน โดยมีการนำเสนอและสรุปร่วมกันทั้งผู้สอนและผู้เรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเป็นผู้มีวินัยและความรับผิดชอบ พร้อมที่จะฝึกฝนตนเองอยู่เสมอ
- ประเมินผลจากการทดสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย (แบบฝึกหัด แบบทดสอบ รายงาน)
- ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูลจากกรณีศึกษา
       พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สามารถนำความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญทางเคมีมาใช้แก้ปัญหาโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ
- การอภิปรายกลุ่ม
- มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
- มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอ
- ประเมินผลจากการตอบคำถาม การสอบ การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
- สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน
- พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานกลุ่ม
- พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
- การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
- ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียนใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
- มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น
- มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น
- การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1 2.3, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 17 35 % : 35 %
2 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 1. วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน 2. การทำงานกลุ่มและผลงาน 3. การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.3, 1.4, 2.1, 2.2 1. การเข้าชั้นเรียน 2. การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1) อินทิรา หาญพงษ์พันธ์, เคมีทั่วไปสำหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 6, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
    มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ, 2539.
2) ชัยยุทธ ช่างสาร, เลิศณรงค์ ศรีพนม, เคมีสำหรับวิศวกร, พิมพ์ครั้งที่ 1, บริษัท ว. เพ็ชรสกุล จำกัด,
   กรุงเทพฯ, 2545.
3) คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี ทบวงมหาวิทยาลัย, เคมีเล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 7,
    สำนักพิมพ์บริษัทไทยร่มเกล้าจำกัด, กรุงเทพฯ, 2536.
4) สันทัด ศิริอนันท์ไพบูลย์, เคมีวิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์บริษัทซีเอ็ดยูเคชันจำกัด
    (มหาชน) , กรุงเทพฯ, 2542.
5) อุดม ศรีโยธา, เคมีทั่วไป เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, 2521.
6) ประภาณี เกษมศรี ณ อยุธยา, เคมีทั่วไป เล่ม 1, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
    มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 5, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.
7) โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
    เชียงใหม่, 2538.
8) ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์, หลักเคมี 2, พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ, 2532.
9) ชัยยุทธ ช่างสาร, เลิศณรงค์ ศรีพนม, เคมีประยุกต์, พิมพ์ครั้งที่ 1, บริษัท ว. เพ็ชรสกุล
    จำกัด, กรุงเทพฯ, 2543.
10) ศักดา ไตรศักดิ์, โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมีบนพื้นฐานทฤษฎีควันตัม, พิมพ์ครั้งที่ 2, โครงการ
     ตำราคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ, 2540.
11) L.S. Brown and T.A. Holme, “Chemistry for Engineering Students”, Thomson and
    Brooks/Cole, USA (2006).
1) http://www.ipst.ac.th/chemistry/home.html
2) http://chemistry.about.com/od/branchesofchemistry/Chemistry_Disciplines.htm
1) ตารางธาตุ
2) แบบจำลองอะตอมและพันธะเคมี
3) แบบจำลองโครงสร้างผลึกของของแข็ง
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
 
2.1 การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับเปลี่ยนเทคนิคการสอนให้มีความทันสมัยและมีความหลายหลาย เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษา
มีความสนใจและตั้งใจเรียนรู้ในเนื้อหารายวิชามากขึ้น เช่น การสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษหรือการใช้
ศัพท์เทคนิคต่างๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี