การเพิ่มผลผลิต

Productivity

1.1 รู้ความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของการเพิ่มผลผลิต 1.2 เข้าใจแนวคิด วิวัฒนาการและองค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต 1.3 เข้าใจเทคนิคการวัดการเพิ่มผลผลิตในภาคการผลิต ภาคบริการ ตลอดถึงเทคนิคสมัยใหม่ในการวัดและประเมินผล 1.4 เข้าใจเทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตในหน่วยงาน 1.5 อธิบายแนวทางการเพิ่มผลผลิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1.6 เข้าใจแนวทางในการเพิ่มผลผลิตให้แก่องค์กร 1.7 นำเทคนิคการเพิ่มผลผลิตไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในชีวิตประจาวันได้
2.1 เพื่อให้เนื้อหามีความทันสมัยและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 2.2 เพื่อสร้างความตระหนักในด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ศึกษาความหมายและความสำคัญของการเพิ่มผลผลิต แนวคิดและวิวัฒนาการด้านการเพิ่มผลผลิต องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต การวัดการเพิ่มผลผลิต เทคนิคและเครื่องมือพื้นฐานในการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตในหน่วยงาน ผลที่ได้รับจากการเพิ่มผลผลิตทั้งต่อองค์การ พนักงานและภาพรวมในระดับประเทศ การนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและในชีวิตประจำวัน รวมทั้งการหาแนวทางในการนำเครื่องมือคุณภาพไปปฏิบัติเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาโดยนำกรณีศึกษามาใช้ศึกษาประกอบ
3.1 อาจารย์ผู้สอนประจำรายวิชา แจ้งช่องทางสำหรับการส่งงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย 3.2 อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม 1.1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน 1.1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.5 มีจิตสำนึกและมีนโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความชั่วและความดี
1.2.1 บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม 1.2.2 ให้ความสำคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และการส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.3.1 ประเมินผลจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา 1.3.2 การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทารายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจที่ครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การจัดการ 2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพทางด้านบริหารธุรกิจรวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาเข้ากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  2.2.2 ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ 2.2.3 มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด หรือศึกษากรณีศึกษา และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1 ประเมินผล จากการสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ และทฤษฏี 2.3.2 ประเมินผลจากการสอบย่อย 2.3.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย หรือ ศึกษากรณีศึกษา และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.1.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทาง ในการบริหารธุรกิจใหม่ ๆ 3.1.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม 3.1.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ 3.1.4 มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
3.2.1 การมอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกทักษะการวัดการเพิ่มผลผลิต 3.2.2 วิเคราะห์เทคนิคการวัดการเพิ่มผลผลิตในการทำงาน
2.3.1 ประเมินผล จากการสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินผลจากการสอบย่อย 2.3.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย หรือ ศึกษากรณีศึกษา และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.1.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา 4.1.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ 4.1.3 มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม 4.1.4 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่มีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ 4.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจในทางธุรกิจ 5.1.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีสิทธิภาพ 5.1.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน 5.1.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา 5.1.5 สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือ และสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวความคิดที่หลากหลาย
5.1.6 ความสามารถนาเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี 5.1.7 ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต และทำรายงานโดยให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 5.2.2 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 5.2.3 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศในงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1 ประเมินจากงานที่มอบหมาย และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7
1 12013201 การเพิ่มผลผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท. 2550. การเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ : อาร์ทลี่ย์ เพรสการพิมพ์.
1.โกศล ดีศีลธรรม. 2549. การเพิ่มผลิตภาพในงานอุตสาหกรรม. สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. 2.ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. 2550. การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด (มหาชน). 3.บรรจง จันทมาศ. 2550. การบริหารงานคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ : สมาคม ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). 4. วิศวชาติ สุวรรณราชและคณะ. 2550. การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ : เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์. 5. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งประเทศไทย. 2550. Basic Productivity Improvement: หลักการเพิ่มผลผลิต
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 ประเมินจากผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงเพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน และวิธีการฝึกการวิเคราะห์
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา โดยทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย และรวมถึงการให้คะแนนพฤติกรรม ระหว่างการเข้าเรียนและการร่วมกิจกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4 นาผลการประเมินการสอนของตนมาจัดเทียบเคียงกับข้อคิดเห็นของนักศึกษา เพื่อพัฒนาเนื้อหาสาระให้ทันสมัย ปรับวิธีการ เรียนการสอน และวิธีการประเมินผลให้ตรงกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง