ศิลปะการใช้ภาษาไทย

Arts of Using Thai Language

1.1  เพื่อให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2  เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนากระบวนการคิดกับการใช้ภาษาร่วมกันอย่างสร้างสรรค์
1.3  เพื่อให้ผู้เรียนมีศิลปะในการฟังและการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 
1.4  เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางภาษาไทยและมีทักษะในการใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
1.5  เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการเขียนและการพูด รวมทั้งสามารถเขียนทางวิชาการและการพูดนำเสนอได้อย่างมีคุณภาพ
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2.2 เพื่อให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารมีการพัฒนาที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการประกอบวิชาชีพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
2.3 เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของภาษาไทยในฐานะเครื่องมือการสื่อสารและเป็นมรดกทาวัฒนธรรมของชาติ
2.4 เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณาจารย์แผนกวิชาภาษาตะวันออกให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และปรับตนเองเพื่อตอบรับต่อองค์ความรู้ใหม่ สู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่มี    ประสิทธิภาพ
ศึกษารูปแบบและวิธีการสื่อสารด้วยการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนากระบวนการคิดอย่างมีระบบร่วมกับการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ โดยมีศิลปะในการฟังและการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ มีทักษะในการพูดและการเขียนทางวิชาการอย่างมีคุณภาพ สามารถบูรณาการการใช้ภาษาไทยกับเทคโนโลยี และนวัตกรรมสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนตระหนักถึงการใช้ภาษาไทยในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
อาจารย์ผู้สอนเปิดให้คำแนะนำทุกวันตั้งแต่วันจันทร์ถึงศุกร์ในเวลาที่นอกเหนือจากการสอนตามตาราง ที่ห้อง ศศ.703 และแจ้งให้นักศึกษาทราบในสัปดาห์แรกของการเปิดเรียน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)
(ให้กำหนดความรับผิดชอบหลัก/รองหน้าแต่ละข้อเหมือนที่แสดงในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้)
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม
2) อภิปรายกลุ่ม
3) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
4) กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงเวลา
2) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3) ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4) ประเมินผลการนำเสนอผลงาน    และรายงานที่มอบหมาย
5) การส่งงานตรงตามเวลา
˜2.1 มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม กรณีศึกษา การใช้สื่อมิเดียการวิเคราะห์งาน และมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง
2) ให้ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
3) นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1) สอบย่อยระหว่างเรียนด้วยแบบทดสอบ
2) ประเมินจากประสิทธิผลของทักษะการสื่อสาร การใช้วิจารณญาณ การใช้ภาษาไทย การศึกษาค้นคว้า การทำรายงาน และงานที่มอบหมาย
3) ทดสอบกลางภาค และปลายภาค
4) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1) บรรยายและอภิปราย การใช้สื่อมิเดียต่างๆ การใช้กรณีศึกษา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
2) การมอบหมายให้นักศึกษาแสดงทักษะทางภาษาไทย การทำรายงานชิ้นงาน และนำเสนอผลการศึกษา
1) เก็บคะแนนย่อย โดยเน้นการใช้ทักษะทางภาษาไทยโดยการปฏิบัติจริง
2) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม    ในการอภิปรายในชั้นเรียน
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้        ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม     ในประเด็นที่เหมาะสม
1) มอบหมายงานกลุ่มในการ ศึกษาค้นคว้า
2) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1) ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานกลุ่ม
2) รายงานการศึกษาและชิ้นงานค้นคว้าด้วยตนเอง
3) พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
 
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก  website สื่อการสอน            e-learning  และทำรายงาน  โดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2) นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อมิเดียและเทคโนโลยี
2) การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1
เอกสารประกอบการสอนวิชาศิลปะการใช้ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง. 2541. ทักษะภาษานานาวิธี. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย. 2539. การใช้ภาษาไทย 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชนะ  เวชกุล. 2524. การเขียนรายงานจากการค้นคว้า. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ชวน  เพชรแก้ว, ปรีชา  นุ่นสุข และ ปราณี  ถาวระ. 2524. การใช้ภาษา, ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : กรุงสยาม
              การพิมพ์.
ดนัย  ไชยโยธา. 2551. รู้รักภาษาไทย : สำนวนโวหาร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ธนู  ทดแทนคุณ. 2551. รู้รักษ์ภาษาไทย : ภาษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ธีระพล  อรุณะกสิกร และคณะ. 2540. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ. กรุงเทพฯ :
              สำนักพิมพ์วิญญูชน.
นพดล  จันทร์เพ็ญ. 2539. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ :  ต้นอ้อ แกรมมี จำกัด.
ประภัสสร  ภัทรนาวิก. 2545. การเขียนเอกสารสำนักงาน. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ปรีชา  ช้างขวัญยืน. 2525. ศิลปะการเขียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิชาการ.
ปรีชา  ทิชินพงศ์. 2523. ลักษณะภาษาไทย, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ไพโรจน์  อยู่มณเฑียร. 2540. สำนวนไทยใช้ให้เป็น, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ทฤษฎี.
สมพร  มันตะสูตร แพ่งพิพัฒน์. 2540. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
สุธิวงศ์  พงศ์ไพบูลย์. 2522. การเขียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
วิภาวรรณ ปลัดคุณ. 2561. การเขียนรายงาน. เชียงใหม่: ภิรมย์กิจการพิมพ์.
วิเศษ  ชาญประโคน. 2550. ภาษไทยเพื่อการสื่อสาร, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
เอกฉัท  จารุเมธีชน. 2539. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
เว็บไซต์ต่าง ๆ
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผล
กระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับ พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ ทักษะในการประมวล/คิด
วิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
1) ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวน และปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพ
ของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
2) กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอน
3) สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อร่วมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
          4) การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
คณาจารย์ในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบชิ้นงาน ข้อสอบย่อย ข้อสอบกลางภาคปลายภาค รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (ข้อ 4) กลุ่มอาจารย์ผู้สอน
ทบทวนเนื้อหาและกลยุทธ์การสอน แล้วนำเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเพื่อเสนอต่อที่ประชุมกลุ่มอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาสรุป และวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชา เพื่อนำเสนอภาควิชา / คณะ