เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ สัตว์ปีก และประมง
Meat Poultry and Fishery Products Technology
1.1เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารระดับปริญญาตรีที่มี
ความรู้ความสามารถทั้งทฤษฎีและปฏิบัติในงานด้านอุตสาหกรรมอาหาร
1.2เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพมีคุณธรรมจริยธรรมและมีความรับผิดชอบ
ต่อตนเองและสังคม
1.3เพื่อพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนางานทางด้านอุตสาหกรรมอาหารโดยมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
1.4เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรมอาหารให้สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ตามความเหมาะสม
ความรู้ความสามารถทั้งทฤษฎีและปฏิบัติในงานด้านอุตสาหกรรมอาหาร
1.2เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพมีคุณธรรมจริยธรรมและมีความรับผิดชอบ
ต่อตนเองและสังคม
1.3เพื่อพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนางานทางด้านอุตสาหกรรมอาหารโดยมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
1.4เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรมอาหารให้สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ตามความเหมาะสม
: เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างองค์ประกอบของเนื้อสัตว์สัตว์ปีกและสัตว์น้ำ การฆ่า ชำแหละและการตัดแต่ง ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ การเสื่อมคุณภาพพิษวิทยาที่เกิดจากวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์คุณภาพและมาตรฐานของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ การถนอมรักษาผลิตภัณฑ์และการใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ในกระบวนการผลิต
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง FT301โทร. 098 7480766)
3.2 E-mail; necapes@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
3.2 E-mail; necapes@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอนจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ข้อกฎหมาย ตลอดถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
.6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
8.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
2.สถานการณ์จำลอง
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
.6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
8.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
-บรรยายเนื้อหาทฤษฎีตามแผนการสอน
-สอนและสอบภาคปฏิบัติ
-ศึกษาดูงาน
-มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยและความก้าวหน้าทางวิชาการใหม่ๆ
-สอนและสอบภาคปฏิบัติ
-ศึกษาดูงาน
-มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยและความก้าวหน้าทางวิชาการใหม่ๆ
-สอบภาคทฤษฏี
-สอบภาคปฏิบัติ
-ส่งรายงานและงานมอบหมาย
-การสังเกต
-ถาม-ตอบ
-สอบภาคปฏิบัติ
-ส่งรายงานและงานมอบหมาย
-การสังเกต
-ถาม-ตอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
สอนและให้นักศึกษาคิดพัฒนาผลิตภัณฑ์รายกลุ่มแล้วนำเสนอในชั้นเรียน
-ตรวจผลงาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน
มอบหมายงานกลุ่ม
หรือฝึกให้บริการวิชาการแก่สังคม/กลุ่มแปรรูปอาหาร
-นำเสนอรายงาน สรุปงานเป็น
หรือฝึกให้บริการวิชาการแก่สังคม/กลุ่มแปรรูปอาหาร
-นำเสนอรายงาน สรุปงานเป็น
-การสังเกต
-ประเมินให้คะแนนตามปฏิบัติจริงหน้างาน
-ประเมินให้คะแนนตามปฏิบัติจริงหน้างาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
-ให้คะแนนงานตามเกณฑ์ประเมินที่สร้างขึ้นขึ้น
-ถาม/ตอบ
-ถาม/ตอบ
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
-สังเกต
-สอบภาคปฏิบัติ
-สอบภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.3 4.1 1.5 | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนการมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทดสอบย่อย 3 ครั้ง การสอบกลางภาค การนำเสนองาน/การรายงาน การสอบปลายภาค รวม | ตลอดภาคการศึกษา ทุกสัปดาห์ 4,6,10 9 14 17 | 5% 10% 5% 5% 10% 30% 10% 25 % 100 % |
1.ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
ชัยณรงค์ คันธพนิต. 2529. วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจำกัด.
276 น.
เยาวลักษณ์ สุรพันธพิศิษฐ์. 2536. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 .
ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตรคณะเทคโนโลยีเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 135 น.
นงนุช รักสกุลไทย. 2530. กรรมวิธีแปรรูปสัตว์น้ำ. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ไพศาล วุฒิจำนงค์. 2531. คู่มือปฏิบัติการ เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 36 น.
มัทนา แสงจินดาวงษ์. 2538. จุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ประมง. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 238 น.
มัทนา แสงจินดาวงษ์. 2545. ผลิตภัณฑ์ประมงไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะ
ประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 323 น.
ลักขณา รุจนไกรกานต์. 2533. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื้อสัตว์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 407 น.
อุมาพร ศิริพินทุ์. 2546. เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์. เชียงใหม่: ภาควิชา
เทคโนโลยีทางอาหาร. คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 181 น.
สุทธวัฒน์ เบญจกุล. 2548. เคมีและคุณภาพสัตว์น้ำ. พิมพ์ครั้งที่ 1. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์: โอเดียนสโตร์.
336 น.
ชัยณรงค์ คันธพนิต. 2529. วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจำกัด.
276 น.
เยาวลักษณ์ สุรพันธพิศิษฐ์. 2536. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 .
ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตรคณะเทคโนโลยีเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 135 น.
นงนุช รักสกุลไทย. 2530. กรรมวิธีแปรรูปสัตว์น้ำ. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ไพศาล วุฒิจำนงค์. 2531. คู่มือปฏิบัติการ เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 36 น.
มัทนา แสงจินดาวงษ์. 2538. จุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ประมง. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 238 น.
มัทนา แสงจินดาวงษ์. 2545. ผลิตภัณฑ์ประมงไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะ
ประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 323 น.
ลักขณา รุจนไกรกานต์. 2533. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื้อสัตว์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 407 น.
อุมาพร ศิริพินทุ์. 2546. เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์. เชียงใหม่: ภาควิชา
เทคโนโลยีทางอาหาร. คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 181 น.
สุทธวัฒน์ เบญจกุล. 2548. เคมีและคุณภาพสัตว์น้ำ. พิมพ์ครั้งที่ 1. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์: โอเดียนสโตร์.
336 น.
วารสารอาหาร, Journal of Food Science,Journal of Food Technology,Journal of Meat Science
เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
เวปไซด์เกี่ยวกับอาหาร
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์ในชั้นเรียน
การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์จากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
3.5 การศึกษาดูงานนอกสถานที่ตามโอกาส
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์ในชั้นเรียน
การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
3.3การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์จากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
3.5 การศึกษาดูงานนอกสถานที่ตามโอกาส
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
อธิบายกระบวนการในการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
อธิบายกระบวนการในการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง