กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

Law for Accounting Profession

1. เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ มีบุคลิกภาพและทักษะในวิชาชีพสามารถปฏิบัติงานด้านการบัญชีบนพื้นฐานของความถูกต้องตามหลักทางจริยธรรมและกฎหมายทางธุรกิจ
2. เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรทางด้านการบัญชีให้สามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นและของประเทศ
3. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์ มีใจรักงาน และสำนึกในจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อสังคม ตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย
1. เพื่อให้ความรู้พื้นฐานทางกฎหมายธุรกิจ
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับหลักทางกฎหมายธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีและมีจริยธรรมในการดำเนินกิจการทางธุรกิจ
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี มาปรับใช้กับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันและอนาคต
ศึกษากฎหมายที่จำเป็นเกี่ยวกับการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายเกี่ยวกับการจัดองค์กรธุรกิจด้านนิติบุคคล พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์การเสนอขายหลักทรัพย์ การกำกับควบคุม และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี เช่นพระราชบัญญัติการบัญชี พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี เป็นต้น
 
อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาหาผ่านเว็บไซต์มหาวิทยาลัย
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนามีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น
1.1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1 ปฏิบัติกิจกรรมตามสถานการณ์ เกม แล้วอภิปรายถึงแนวคิด ข้อคิดที่สร้างความเข้าใจชีวิต เข้าใจคน และเข้าใจธรรมชาติ และการปฏิบัติต่อกันอย่างเหมาะสมและสันติ
1.2.2 อภิปรายกลุ่มทั้งกลุ่มเฉพาะ และกลุ่มใหญ่
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหากรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องแล้วนำมาวิเคราะห์ตามศาสตร์และทฤษฎีที่เรียนพร้อมกับแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผลถูกต้อง เหมาะสม และสร้างสรรค์
1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอกรณีศึกษาที่มอบหมาย
2.1.1 มีความรู้ในเรื่องกฎหมายธุรกิจทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2.1.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
2.2.2 การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า
2.2.3 การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน
2.2.4 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning)
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
3.1.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
3.1.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
3.2.1 ร่วมกิจกรรม เกม กรณีศึกษาปัจจุบัน อภิปรายกลุ่ม พร้อมกับรายงานทั้งด้านวาจาและการเขียน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.3.2 พิจารณาจากการนำเสนอรายบุคคล และ รายกลุ่ม
4.1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม
4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง
และตรงตามมาตรฐานสากล
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 วิเคราะห์เหตุการณ์ บ้านเมือง สังคม ข่าว ในงานการมีปฏิสัมพันธ์
4.3.1 นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด เกี่ยวกับการวิเคราะห์กรณีศึกษา ข่าว เหตุการณ์
4.3.2 ประเมินผลการรายงานที่นักศึกษานำเสนอ
4.3.3 ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่ม
5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
5.1.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีความสามารถในการใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวลการแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซต์ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย และตารางตัวเลข ที่อาจเกี่ยวข้อง พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย หลังจากฟังการนำเสนอผลการศึกษาของเพื่อน
5.3.2 ประเมินจากรายงานการเขียน และการนำเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2,3.2,6.2,7.1,7.3, 11.1,11.2,11.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 3,4,9,11,15 10 18 15% 30% 30%
2 6.1,6.2,12 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 บทที่ 1-15 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- บุญเพราะ แสงเทียน : กฎหมายธุรกิจ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด : 2550
- บุญเพราะ แสงเทียน : กฎหมายธุรกิจเพื่อการจัดการ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด : 2552
- คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ : กฎหมายธุรกิจ : 2556
1. เวปไซด์เกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจ
2. หนังสือเกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจ และกฎหมายธุรกิจเพื่อการจัดการ
3. หนังสือวารสารเกี่ยวกับการตัวอย่างของการดำเนินคดีเกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจ
4. www.dbd.go.th
5. www.fap.go.th
6. ข้อมูลจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
-
ผลการเรียนรู้บรรลุวัตถุประสงค์
- ให้ลองปฏิบัติจริงหลังฟังบรรยาย
- ประเมินจากงานที่ทำส่งว่าเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้หรือไม่
- สมมุติเหตุการณ์ หรือปัญหา แล้วตั้งคำถามท้ายชั่วโมงเรียน
ปรับปรุงโดยจัดกิจกรรม ให้มีการนำเสนอ งานเพื่อฝึกให้นศ. มีทักษะในการนำเสนองาน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการแสดงผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- ทดสอบความรู้ก่อน และหลัง
- ตั้งคำถามเน้นถึงวัตถุประสงค์ ความหมายจากการเรียนรู้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- เรียนรู้จากสถานที่จริง
 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้บปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ