การออกแบบโรงงานอาหาร

Food Plant Design

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการออกแบบโรงงานอาหาร การเลือกทําเลที่ตั้ง และการวางผังโรงงานให้สอดรับกับกระบวนการผลิต และสิ่งสนับสนุนการผลิตตามหลักเกณฑ์การออกแบบโรงงานอาหาร
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและกิจกรรมให้เหมาะสมกับพื้นฐานของผู้เรียน และเพื่อเพิ่มเติมสื่อการเรียนการสอนให้เข้ากับตำราเรียน ที่มีตัวอย่างที่ทันสมัยและน่าสนใจมากขึ้น
หลักการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การจัดแผนผังโรงงาน การออกแบบแผนผังโรงงานอย่างมีระบบ การเลือกเครื่องมือ เครื่องใช้ การสร้าง แผนภาพของการไหลของวัสดุอาหาร การปรับความสมดุลของเส้นทาง การจัดระบบการผลิต การเคลื่อนย้ายวัสดุ เทคนิคต่างๆ ในการออกแบบโรงงาน หลักและข้อคำนึงในการวางแผนและพัฒนาโรงงาน การใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบโรงงาน การจัดการของเสียและสุขาภิบาลในอุตสาหกรรมอาหาร
อาจารย์ผู้สอน แจ้งเวลาให้นักศึกษามาปรึกษานอกตารางเรียนในครั้งแรกของการเรียนการสอน       โดยจัดสรรเวลาให้อย่างน้อย 1 คาบต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชา ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ดังนี้

มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1  กําหนดใหมีวัฒนธรรมองคกรเพื่อเปนการปลูกฝงใหนักศึกษามีระเบียบวินัย
          1.2.2  เนนการเขาชั้นเรียนใหตรงเวลา ตลอดจนการแตงกายที่เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
          1.2.3  สอดแทรกและสงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และสงเสริมใหนักศึกษามีจิตสาธารณะ        
          1.2.4  สนับสนุนใหนักศึกษาเขารวมในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพแกสังคม ปลูกฝ งจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ยกยองและเชิดชูนักศึกษาที่ทําความดีและเสียสละ
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในดานตาง ๆ ไดแก
1.3.1  การตรงเวลาของนักศึกษาในการเขาชั้นเรียน การสงงานตามกํ าหนดระยะเวลา
ที่มอบหมาย และการเขารวมกิจกรรม
1.3.2  ความมีวินัยและความใสใจของนักศึกษาในการเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
          1.3.3  ความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย
          1.3.4  ความซื่อสัตยสุจริตในการทํางานที่ไดรับมอบหมายและการสอบ
      2.1.1 มีความรูและความเขาใจทั้งดานทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ได้แก่

มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบโรงงานอาหาร การเลือกทําเลที่ตั้ง   มีความรู้เรื่องการวางผังโรงงานอย่างมีระบบ การออกแบบและการวางแผนผังกระบวนการผลิตต่างๆ  รวมทั้งเครื่องมือ ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร

­ มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการคํานวณต้นทุนและการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
2.1.2 สามารถติดตามความกาวหนาทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรูทางวิชาชีพกับความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
­ ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ (Active Learning) ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยให้โจทย์การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหารเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม ลงมือปฏิบัติในชั้นเรียน การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบ ศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต อภิปรายร่วมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 
ใช้การสอนโดยการฝึกปฏิบัติจริงในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับนักศึกษา โดยให้โครงงานขนาดเล็ก (mini project) เพื่อเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ตลอดภาคการศึกษา
2.3.1   ประเมินจากการนำเสนอความก้าวหน้าโครงการในแต่ละสัปดาห์
2.3.2   พิจารณาจากงานที่มอบหมาย รายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์
นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพโดยพึ่งตนเองไดเมื่อจบการศึกษา ดังนั้น นักศึกษาตองไดรับการพัฒนาทักษะทางปญญาพรอมกับคุณธรรมและจริยธรรมโดยกระบวนการเรียนการสอนตองเนนใหนักศึกษารูจักคิดหาเหตุผลเขาใจที่มาและสาเหตุของปญหาแนวคิดและวิธีการ แกปญหาดวยตนเอง นักศึกษาที่ผานกระบวนการเรียนการสอนดวยวิธีดังกลาวตองมีคุณสมบัติ ดังนี้
          3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกตความรูทั้งทางดานวิชาการหรือวิชาชีพ
          3.1.2 มีทักษะในการนําความรูมาคิดและใชอยางเปนระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอน กับการทํางาน (Work-Integrated Learning) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของ สถานการณ์ต่าง ๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จําลอง และกรณีศึกษา เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษา ได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง

ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ไดแก
          3.3.1 บทบาทสมมติหรือสถานการณจําลอง
          3.3.2 การเลือกใชวิธีการเพื่อแกใขปญหาในบริบทตางๆ
          3.3.3 การนําเสนอรายงานในชั้นเรียน
          3.3.4 การทดสอบโดยใชแบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม
4.1.3  สามารถทํางานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การวัดและประเมินผลทําได้โดยการสังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทํากิจกรรมกลุ่ม ทั้งในและนอกชั้นเรียน และผลสะท้อนกลับจากการฝึกประสบการณ์ต่าง ๆ
เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทำงานทั้งกลุ่มและเดี่ยว ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดโจทย์กำหนดบทบาทในการทำงาน และให้นำเสนอผลงาน รวมทั้งให้นักศึกษามีบทบาทในการให้ความเห็นกับผลงานของคนอื่น หรือกลุ่มอื่น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ไดแก
4.3.1  พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนําเสนอรายงานกลุมในชั้นเรียน
4.3.2  พฤติกรรมที่แสดงออกในการรวมกิจกรรมตาง ๆ
5.1.1  เลือกใชวิธีการและเครื่องมือสื่อสารไดเหมาะสม
5.1.2  สืบคน ศึกษา วิเคราะหและประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อแกไขปญหาอยางเหมาะสม
5.1.3  ใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ในการสื่อสารไดอยางถูกตองตามกาลเทศะ และ สอดคลองกับวัฒนธรรมสากล
          การวัดและประเมินผลอาจจัดทําในระหวางการสอนโดยการจัดกิจกรรมใหนักศึกษาไดใช เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาคนควาขอมูลเพื่อนํามาเรียบเรียง นําเสนอและอภิปราย แสดงความ คิดเห็นในกลุม หรือจัดกิจกรรมใหนักศึกษาใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร หรือนําเสนอผลงานตางๆ
ดําเนินการสอนดวยกิจกรรมที่นักศึกษาตองติดตอสื่อสาร คนควาหาขอมูล และนําเสนอผลจาก การคนควาโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหเกิดการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังน
5.2.1  ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร
5.2.2  ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการคนควาหาขอมูล
5.2.3 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการนําเสนอผลงาน
5.2.4 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของ สังคมแตละกลุม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
          5.3.1 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอสื่อสาร
          5.3.2 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาคนควาหาขอมูล
          5.3.3 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอผลงาน
          5.3.4 จรรยามารยาทในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสมกับสถานการณและ วัฒนธรรมสากล
นักศึกษามีความสามารถพัฒนาตนเองไดและปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพของตนเอง โดยนักศึกษา ตองมีคุณสมบัติตาง ๆ จากทักษะการปฏิบัติ ดังนี้
         6.1.1 มีพัฒนาการทางดานรางกาย
         6.1.2 มีพัฒนาการทางดานระบบตาง ๆ ของรางกาย
         6.1.3 มีพัฒนาการทางดานบุคลิกภาพ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะ การปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ําเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้       
           6.3.1 จากประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติ ความถูกตอง
           6.3.2 การแกปญหาเฉพาะหนาและความสามารถในการตัดสินใจ
           6.3.3 พฤติกรรมที่แสดงออกในการเขารวมกิจกรรมตางๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3.
1 52012304 การออกแบบโรงงานอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ,2.1, 3.1, 4.1, 5.1 Mid-term exam Final exam 9 18 20% 30%
2 2.1, 3.1 Presentation and Report Throughout the semester 40%
3 1.1 Class attendance Group participation and discussion in class Throughout the semester 10%
Lopez-Gomez, A., G. V. Barbosa-Canovas.  2005.  Food Plant Design.  CRC Press.
ไม่มี
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1  ผลการเรียนของนักศึกษาและผลสอบ
2.2  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  ประเมินรายวิชาทุกปีตามแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา