อารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบ

Comparative Civilization and Religions

1.1 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงความเป็นมา และข้อแตกต่างระหว่างอารยธรรมตะวันตก และอารยธรรมตะวันออก
1.2 เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของอารยธรรมและศาสนาในประเทศไทยในช่วงเวลาก่อนและหลังรับอิทธิพลต่างชาติ
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์อิทธิพลที่มีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทย
ความเป็นมาและเปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันออก ความเชื่อในการนับถือศาสนาต่างๆ โดยเน้นอารยธรรมและศาสนาในประเทศไทย ในช่วงเวลาก่อนและหลังรับอิทธิพลต่างชาติ วิเคราะห์อิทธิพลที่มีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทย
อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษา ผ่านทางป้ายประกาศของสาขาวิชาฯ อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1  มีความซื่อสัตย์สุจริต สามารถอธิบายและวิเคราะห์อารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบทั้งอารยธรรมตะวันตก ตะวันออก และอารยธรรมไทย เพื่อปรับใช้กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม
1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบ แสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการศึกษาเกี่ยวกับอารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบของแหล่งอารยธรรมต่างๆ ทั้งต่างประเทศและประเทศไทย
1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว โดยสามารถนำความรู้ด้านอารยธรรมและศาสนามาปรับใช้ในการพัฒนาได้
1.1.4 มีวินัยในการทำงานและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1  เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
1.2.2  อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
1.2.3  สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์
1.3.3 ประเมินผลการจากกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
รู้และเข้าใจความเป็นมา และการเปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันออก ความเชื่อในการนับถือศาสนาต่างๆ โดยเน้นอารยธรรมและศาสนาในประเทศไทย ในช่วงเวลาก่อนและหลังรับอิทธิพลต่างชาติ วิเคราะห์อิทธิพลที่มีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทย
2.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
2.2.2  อภิปรายหลังการทำกิจกรรม หรือสถานการณ์จำลอง
2.2.3  การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้  (Problem – based Learning)
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
2.3.3 ประเมินจากการจัดทำรายงาน
3.3.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเปรียบเทียบอารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวันออก ความเชื่อในการนับถือศาสนาต่างๆ โดยเน้นอารยธรรมและศาสนาในประเทศไทย ในช่วงเวลาก่อนและหลังรับอิทธิพลต่างชาติ วิเคราะห์อิทธิพลที่มีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม การ ปกครอง และนโยบายต่างประเทศของไทยได้อย่างเหมาะสม
3.3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนามและการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.2.1  การมอบให้นักศึกษาทำงานที่ให้วิเคราะห์ความแตกต่างของอารยธรรมและศาสนาของตะวันตกและตะวันออก โดยเน้นอารยธรรมและศาสนาในประเทศไทย
3.2.2 กิจกรรมกลุ่ม
3.3.1  ปฏิภาณไหวพริบในการตอบข้อซักถามอาจารย์เมื่อมีคำถามด้านอารยธรรมและศาสนาในเวลาเรียนซึ่งเป็นข้อชี้วัดหนึ่งในการให้คะแนนปฏิบัติได้
3.3.2  พิจารณาจากการทำงานรวมกลุ่ม
4.1.1  มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสมรวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม
4.1.2  มีความสามารถในการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.1.3 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มหรือการจัดทำรายงานเกี่ยวกับอารยธรรมและศาสนาเปรียบเทียบ
4.3.1  นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  เกี่ยวกับการช่วยเหลือและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในงาน
4.3.3  ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้
4.3.4 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.3.5 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลและนำเสนอรายงาน
5.1.1  มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟังการพูดการอ่านการเขียนและการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.5.2 มีความสามารถในการสื่อสารในเรื่องของการบริการการในสถานที่ต่างๆกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมรวมทั้งการเลือกใช้คำศัพท์ได้อย่างถูกต้อง
5.5.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารรู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.5.4 มีความสามารถในการใช้ตัวเลขทางคณิตศาสตร์และสถิติในการทำงานได้
5.5.5 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  ทางเว็บไซต์  แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย  และตารางตัวเลข  พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล  พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.3 ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1-2.3,3.1-3.3,5.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 30% 30%
2 1.1,2.1-2.3,3.1-3.3,4.1-4.3,5.1-5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1-1.3,4.1-4.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
มรดกอารยธรรมโลก : คณะกรรมการวิชาการมรดกอารยธรรมโลก ศูนย์วิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
กำเนิดอารยธรรมโบราณ : อนันตชัย จินดาวัฒน์ นำนักพิมพ์ยิปซี กรุงเทพฯ
ศาสนาเปรียบเทียบ : ฟื้น ดอกบัว สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร กรุงเทพฯ
พื้นฐานอารยธรรมไทย : สุมานิการ์ จันทร์บรรเจิด สำนักพิมพ์ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น กรุงเทพฯ
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

1.4 นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1ประเมินจากการจัดกิจกรรม
2.2ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
2.3สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2และ3 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
3.2 สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยจากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้นหรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5.3 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี