ประวัติศาสตร์ศิลป์

History of Art

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม และงานหัตถกรรม ของประวัติศาสตร์ศิลปะที่สำคัญของโลกและภูมิภาคเอเชีย
1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหาทางลักษณะ รูปแบบ และวิวัฒนาการ ของงานศิลปะตามยุคสมัยต่างๆ ในประเทศไทย
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของงานศิลปะ เพื่อถ่ายทอดและนำเสนอสู่นักท่องเที่ยว ตลอดจนการนำไปประยุกต์ใช้ในสาขาวิชาชีพอื่นๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม และงานหัตถกรรมศิลปกรรมที่สำคัญของโลก โดยเน้นภูมิภาคเอเชีย ลักษณะ รูปแบบ และวิวัฒนาการของศิลปะตามยุคสมัยงานศิลปะที่พบในประเทศไทย เน้นการสร้างงานเพื่อพุทธศาสนา
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านทางป้ายประกาศของสาขาวิชาการท่องเที่ยว และการบริการ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 -   นักศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ได้ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทางอีเมลล์และโทรศัพท์มือถือ ในเวลาราชการ
2.1.1.1 กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน
2.1.1.2 สอนคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
2.1.1.3 สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
2.1.1.4 สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณ
2.1.2.5 การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่างๆ
2.1.2.6 การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
2.1.2.1 เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ ห้องเรียน และความร่วมมือต่างๆ
2.1.2.2 อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
2.1.2.3 สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
2.1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
2.1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์
2.1.3.3 เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่างๆ
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาโรงแรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2.1.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ
2.2.1 การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2.2.2 มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้า และทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
2.2.3 ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริงภาคปฏิบัติ
2.2.4 อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาค  2.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า  2.3.3 ประเมินจากการจัดทำรายงาน
3.1.1 การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3.1.2 การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
3.1.3 การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
3.2.1  การมอบให้นักศึกษาทำงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน  3.2.2 กิจกรรมกลุ่ม
3.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
3.3.2 การสอบข้อเขียน
3.3.3 การเขียนรายงาน
4.1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่าง                                     เหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตัวเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.1.3 มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้วิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มหรือสถานการณ์จำลอง แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ
4.3.1  นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  เกี่ยวกับการช่วยเหลือและมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในงาน  4.3.3  ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้  4.3.4 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  4.3.5 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลและนำเสนอรายงาน
5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย ในการฟัง การพูด การอ่านการเขียน และการสรุปประเด็นอย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  ทางเว็บไซต์  แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย  และตารางตัวเลข  พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง  5.2.2 นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล  พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม  5.3.3 จัดโปรแกรมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่เหมาะสม
5.3.1  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย  5.3.3 ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1-2.3,3.1-3.3,5.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 30% 30%
2 1.1,2.1-2.3,3.1-3.3,4.1-4.3,5.1-5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1-1.3,4.1-4.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ประวัติศาสตร์ศิลป์ กรมการท่องเที่ยว
ประวัติศาสตร์ศิลปะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มจ.สุภัทรดิศ ดิศกุล
เอกสารประกอบการอบรมมัคคุเทศก์ กรมการท่องเที่ยว
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ