โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม

Data Structure and Algorithm

เพื่อให้นักศึกษามีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง  วิชาชีพ  และสังคม  ความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม  สามารถศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการแนะนำแนวคิดพื้นฐานของโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี  รวมถึงการเรียกซ้ำ โครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นเชิงเส้นและไม่เป็นเชิงเส้น มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่  สแตก  คิว  ลิสต์  โครงสร้างแบบต้นไม้ และกราฟ อัลกอริทึมพื้นฐาน  และสามารถวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี  เช่น  การสืบค้นข้อมูล และการเรียงข้อมูล
เป็นการสอนครั้งแรก
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการแนะนำแนวคิดพื้นฐานของโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี รวมถึงการเรียกซ้ำโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นเชิงเส้นและไม่เป็นเชิงเส้น  โครงสร้างข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่  สแตก  คิว  ลิสต์  โครงสร้างแบบต้นไม้  และกราฟ อัลกอริทึมพื้นฐาน และการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี  เช่น  การสืบค้นข้อมูล  และการเรียงข้อมูล
1 ชั่วโมง
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าห้องเรียนและส่งงานให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย ความรับผิดชอบต่อกระทำของตนเอง วิชาชีพ และสังคม โดยเน้นการไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่น
พิจารณาจากการส่งงานของนักศึกษาทั้งงานกลุ่มและเป็นรายบุคคลที่เป็นแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา การสังเกตพฤติกรรม การเรียน การแสดงออก และการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน การทำงานเดี่ยวและกลุ่ม การนำเสนอรายงานจากโจทย์ปัญหาโดยนำความรู้มาประยุกต์ใช้
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินผลจากแบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายให้นักศึกษา ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอ
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยฝึกกระบวนการคิดจากโจทย์ที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากตามเนื้อหาในรายวิชา การมอบหมายงานโดยสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาจากโจทย์
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เป็นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมในการแก้ไขปัญหา
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษา ต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล การนำเสนอรายงานโดยนำความรู้จากการเรียนมาประยุกต์ใช้
ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลาของนักศึกษา ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
การนำเสนองาน การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อทางเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCT503 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 2.1, 2.2 3.1, 3.4 5.2 - การสอบกลางภาคเรียน 9 30 %
2 1.2 2.1, 2.2 3.1, 3.4 5.2 - การสอบปลายภาคเรียน 17 30 %
3 1.2 2.1, 2.2 3.1, 3.4 4.4 5.1, 5.2 - แบบฝึกหัด/งานที่มอบหมายให้นักศึกษา - การนำเสนอโครงสร้างข้อมูล ตลอดภาคการศึกษา 30 %
4 1.2 2.2 3.1, 3.4 4.4 5.1, 5.2 - พฤติกรรมการเรียนรู้ ตลอดภาคการศึกษา 10 %
พงษ์ วารีประเสริฐ และคณะ. โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม. บริษัท  ซีเอ็ดยูเคชั่น. 2552. โอภาส  เอี่ยมสิริวงค์. โครงสร้างข้อมูลเพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ฉบับปรับปรุง). บริษัท  ซีเอ็ดยูเคชั่น. 2560.
-
-
- แบบประเมินผู้สอน
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
เป็นการสอนครั้งแรก
- ให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา  โดยมีคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบให้เป็นไปตามแผนการสอน
- มีการประเมินข้อสอบโดยคณะกรรมการทวนสอบในระดับหลักสูตร
เป็นการสอนครั้งแรก