จิตวิทยาทั่วไป

General Psychology

1.1 มีความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
1.2 มีความเข้าใจเกี่ยวกับพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
1.3 มีความเข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ สรีระวิทยาของมนุษย์
1.4 มีความเข้าใจในเชาว์ปัญญา อารมณ์ และการจูงใจ
1.5 มีความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพ สุขภาพและการปรับตัว
1.6 มีความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ
1.7 มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาจิตวิทยา
2.1 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
2.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม
2.3 เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทำให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม พัฒนาการของมนุษย์ สรีระวิทยามนุษย์ การรับรู้และการเรียนรู้ เชาวน์ปัญญา อารมณ์ การจูงใจ บุคลิกภาพและการปรับตัวสุขภาพจิต
-อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาห้องพักอาจารย์
-อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 ปลูกฝังจรรณยาบรรณวิชาชีพ
1.2.3 ให้ความสำคัญ การตรงเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
1.2.4 ใช้กรณีศึกษาและการอภิปราย
1.3.1 ประเมินผลจากกรณีศึกษาและการอภิปรายด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.3.2 ประเมินจากแบบทดสอบเกี่ยวกับจรรณยาบรรณวิชาชีพ
1.3.3 การให้คะแนนเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2 มอบหมายให้ทำรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.3 จัดศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบ กลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
2.3.2 พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย และรูปแบบการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
2.3.3 สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าศูนย์การเรียนรู้
3.1.1 ทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์
3.3.1 ประเมินจากผลงาน และการนำเสนองาน
3.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
3.3.3 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสมตามกำหนดเวลา
4.2.1 ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
4.2.2 ส่งเสริมการเคารพสิทธิ และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (Brainstorming) เพื่อฝึกการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.2.4 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
4.3.1 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
4.3.2 ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี
4.3.3 ประเมินผลการประเมินตนเอง และกิจกรรมกลุ่ม
4.3.4 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันทึกพฤติกรรมรายบุคคล
5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
5.1.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.2.1 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.2 มอบหมายงาน ค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งต่างๆและให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.3 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจถูกต้อง
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย
5.3.3 ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.1, 3.2 งานรายบุคคลครั้งที่ 1 (Who am I?) 3 5%
2 6.4, 8.4, 10.3 งานรายบุคคลครั้งที่ 2 (วิเคราะห์กรณีศึกษา) 13 5%
3 3.5, 7.1, 7.2, 10.5 สอบกลางภาค 9 25%
4 4.3, 6.4, 7.4, 7.6, 10.3 งานรายบุคคลครั้งที่ 3 (แบบฝึกหัดท้ายบท) 5, 11 10%
5 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.3, 6.4, 7.6, 8.4, 10.3 งานรายบุคคลครั้งที่ 4 (บุคลิกภาพ) 14 10%
6 3.5, 7.1, 7.2, 10.5 สอบปลายภาค 18 25%
7 4.3, 6.4, 9.2, 10.3 งานกลุ่ม (โครงการ) 16 10%
8 1.3, 2.3, 3.2, 4.3, 5.3, 6.4, 9.3, 10.3 จิตพิสัย/กิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
วิไลวรรณ  ศรีสงคราม และคณะ.(2549)จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพฯ:ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น
คณาจารย์ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.(2555).จิตวิทยาทั่วไป.เชียงใหม่: โรงพิมพ์ช้างเผือก.
เติมศักดิ์ คทวณิช.(2546).จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น.
เรไร ธราวิจิตรกุล.(2544).จิตวิทยาทั่วไป.เอกสารประกอบการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่.
สุวรี ศิวะแพทย์.(2549).จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพฯ:โอเดียน สโตร์.
Lafton,Lester A.(2000).Psychology.7th ed.Boston:Allyeand Bacon.
Lahey,Benjiamin B.(2001).Psychology:An Introduction.7th ed.New York:Mc Graw Hill.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณะสุข.(2549).คู่มือดูแลตนเอง ทำอย่างไรเมื่อใจเป็นทุกข์.หน้า9-14.
www.dmh.go.th
www.thaipsy.com
www.psychotoday.com
www.socialpsychology.org
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
   1.1 ผลการประเมินของนักศึกษาผ่านระบบ Internet ของมหาวิทยาลัย
   1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
   1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
   2.1 อาจารย์พี่เลี้ยง
   2.2 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
   2.3 หัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร
   2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
   3.1 นำผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการสอน ผลการประชุมร่วมมาทบทวน
   3.2 ค้นคว้าหาวิธีสอนที่หลากหลาย
   3.3 วิจัยในชั้นเรียน
   4.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ
   4.2 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
   4.3 การแจ้งผลสอนให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
   4.4 การออกข้อสอบร่วม
   5.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ
   5.2 ประชุมผู้สอนร่วม
   5.3 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
   5.4 ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการ ที่เชิญมาเป็นคณะกรรมการประจำคณะ และวิทยากรบรรยายพิเศษ