หลักการตลาด

Principles of Marketing

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความหมาย ขอบเขต วัตถุประสงค์ และความสำคัญของการตลาดที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ เข้าใจถึงแนวคิดทางการตลาด รวมถึงกิจกรรมหน้าที่ทางการตลาด สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ทารงการตลาดที่เหมาะสม ตลอดจนเข้าใจถึงกฏหมาย จริยธรรมจรรยาบรรณทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคมที่พึงประสงค์
** เขียนตามหลักการ  K S A  โดยต้องตอบให้ครบ 3 ด้าน  ดูทฤษฎีของ Bloom ‘s  Taxonomy เพิ่มเติม **
   K  (knowledge)   --  มีความรู้  ความเข้าใจ
   S  (Skill)            --  มีทักษะปฏิบัติ ด้าน....
                         --  มีความสามารถ ด้าน...
   A  (Applications)  -- สามารถ ประยุกต์ วิเคราะห์ ประเมิน สร้าง ....      
 
. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางการตลาดที่ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจในอนาคตได้ โดยเฉพาะให้สอดคล้องการตลาดปัจจุบันที่พัฒนาดำเนินการรูปแบบ สากล คือ4.0 ทำให้กิจการสามารถดำรงอยู่อย่างถาวรยั่งยืน และเป็นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของประเทศชาติ สร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพทางด้านการศึกษา และนักธุรกิจหรือพนักงาน ข้าราชการที่มีคุณภาพให้กับประเทศชาติ 

 ทำไม  พัฒนา / ปรับปรุงอะไร  ส่งผลต่อผู้เรียนอย่างไร
1. คำอธิบายรายวิชา
   ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการตลาดที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ พัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด กิจกรรมและหน้าที่ต่างๆทางการตลาด ระบบข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยการตลาด ลักษณะและพฤติกรรมการซื้อแต่ละตลาด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดส่วนประสมการตลาด การวางแผนกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมสำหรับแต่ละส่วนประสมเข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกิจกรรมการตลาด จริยธรรมการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
Study of the role and importance of marketing to the social ecomomic development of marketing comcepts. Events and activities including the marketing information system and marketing research. Characteristics and buying behavior of each market. Factors that affect the marketing mix. Strategic  Planning the right marketing mix for eacg to understand the application of new technologies in marketing activities. Ethical Marketing and Corporate Socila Responsibility.
 
 -   อาจารย์ประจ ารายวิชา  ประกาศเวลาให้ค าปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ/สาขาวิชา  -   อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์      (เฉพาะรายที่ต้องการ) 
มีความซื่อสัตย์สุจริต  ซื่อตรงต่อหน้าที่  ต่อตนเองและต่อผู้อื่น  ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความส านึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
มีความพอเพียงเป็นหลักในการด าเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดความพอประมาณ  ความมี เหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
มีความเคารพต่อกฎ  ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
มีจิตสำนึกและมีนโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง  ความดี  และความชั่ว 
บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
ให้ความส าคัญในด้านระเบียบวินัย  การตรงตอ่เวลา และการส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 
ประเมินผลจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
การอ้างอิงเอกสารที่ได้น ามาท ารายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม 
มีความรู้และความเข้าใจในสาระส าคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียน ด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี  นิติศาสตร์  ศิลปะศาสตร์  และวิทยาศาสตร์ 
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
มอบหมายให้ท าแบบฝึกหัด หรือรายงาน  และน าเสนอหน้าชั้นเรียน 
 ประเมินจากสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  
ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการน าเสนอหน้าชั้นเรียน    
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ใน สาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม  กิจกรรม  หรือแนวทางในการ บริหารธุรกิจใหม่ๆ 
 วิเคราะห์กรณีศึกษา  เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ / ระบบสารสนเทศที่เหมาะสม 
ประเมินจากกรณีศึกษา
มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับ ผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
มีความสามารถในการท างานเป็นกลุ่ม  การประสานงาน  การมอบหมายบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้น าที่มีความรับผิดชอบ
มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
จัดกิจกรรมกลุ่ม ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  
มอบหมายงานรายกลุ่ม 
ประเมินจากรายงานที่น าเสนอ  
สังเกตพฤติกรรมการท างานเป็นทีม   
สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีสิทธิภาพ
สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จ าเป็นต่อการ ปฏิบัติงาน
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง  ทั้งในรูปแบบการเขียน รายงานและการน าเสนอด้วยวาจา 
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต และท ารายงานโดยให้ความส าคัญในการ อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล  
 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการน าเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8 17 25% 25% 2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ตลอดภาคการศึกษา 16 20% 10% 10% 3 1.1.1 , 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10% 3. เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง 3.1 มีเวลาเข้าชั้นเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน 3.2 ได้คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม 4. เกณฑ์การประเมิน การประเมินผ่านรายวิชา ใช้วิธีอิงเกณฑ์ โดยกำหนดค่าระดับคะแนนร้อยละตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80-100 ได้ ก หรือ A คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+ คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค + หรือ C+ คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+ คะแนนร้อยละ 50-54 ได้ ง หรือ D คะแนนร้อยละ ต่ำกว่า 50 ได้ จ หรือ F กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8 17 25% 25% 2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ตลอดภาคการศึกษา 16 20% 10% 10% 3 1.1.1 , 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10% 3. เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง 3.1 มีเวลาเข้าชั้นเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน 3.2 ได้คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม 4. เกณฑ์การประเมิน การประเมินผ่านรายวิชา ใช้วิธีอิงเกณฑ์ โดยกำหนดค่าระดับคะแนนร้อยละตามเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80-100 ได้ ก หรือ A คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+ คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค + หรือ C+ คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+ คะแนนร้อยละ 50-54 ได้ ง หรือ D คะแนนร้อยละ ต่ำกว่า 50 ได้ จ หรือ F กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8 17 25% 25% 2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8 17 25% 25% 2 2.1.2
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
คณาจารย์สาขาวิชาการตลาด.  หลักการตลาด.   ปรับปรุงครั้งที่ 2.  เชียงใหม่: สาขาบริหารธุรกิจ        คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ, 2554.
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
กุลฉัตร  ฉัตรกุล  ณ  อยุธยา.  ระบบสารสนเทศทางการตลาด.  เชียงใหม่ :  ภาควิชาการตลาด  คณะบริหารธุรกิจ  มหาวิทยาลัยพายัพ,  2550.
ดวงพร  เกี๋ยงคำ.  คู่มือ Office 2007 ฉบับสมบูรณ์.  กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น, 2552.
บุญธรรม  กิจปรีดาบริสุทธิ์.  สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย.  พิมพ์ครั้งที่ 4.  กรุงเทพฯ : จามจุรีโปรดักท์, 2549.
รศ.ศิริวรรณ  เสรีรัตน์ และคณะ. กลยุทธ์การตลาด  การบริหารการตลาด และกรณีศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์, 2541.
 
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
สุวิมล  แม้นจริง, ผศ., การจัดการการตลาด. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2546.
Kotler, Philip and Kelvin Keller.  Marketing  Management.  12th edition.  New Jersey : Pearson Education, 2006.
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ  
 
Kotler, Philip and Kelvin Keller.  Marketing  Management.  12th edition.  New Jersey : Pearson Education, 2006.
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ
เว็บไซด์ทางธุรกิจ  
1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ   การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ

  การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนใน
2.   กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2  การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
  ** 2.3  การสังเกตการณ์สอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอน
 
3.   การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2  พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
** 3.3  การทำวิจัยในชั้นเรียน
 
4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2  การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4  การประเมินข้อสอบ  การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
 
 
 
 
5.   การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา  (ผล มคอ.5 เทอมที่แล้ว)
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2  นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3  นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร