ฟิสิกส์พื้นฐาน 1

Fundamental Physics 1

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจหลักการพื้นฐานทางฟิสิกส์ แก้ปัญหาทางฟิสิกส์ได้ และประยุกต์วิชาฟิสิกส์พื้นฐานกับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้  มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีพื้นฐานทางฟิสิกส์เพิ่มขึ้น นักศึกษาพัฒนาความรู้และทักษะเฉพาะด้าน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์และครอบคลุม สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
 ศึกษาเกี่ยวกับระบบหน่วยและเวกเตอร์ แรง กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน งานและพลังงานโมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร็ง กลศาสตร์ของไหล สมบัติเชิงกลของสาร ความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น คลื่นและคลื่นเสียง
3 ชั่วโมง/สัปดาห์
-   จริยธรรมละความรับผิดชอบ
มีวินัย ต่อตนเองและสังคม
-   การเคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-   การตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
-   การมีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งและลำดับความสัมพันธ์
-   การมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
 
กำหนดกติการ่วมกันและปฏิบัติอย่างเข้มงวด ในการเข้าเรียน การส่งงานและการนำเสนอผลการทดลอง ที่ถูกต้องและตรงต่อเวลา
- ให้ทุกคนในแต่ละกลุ่ม ได้มีโอกาสลงมือทำแบบฝึกหัดทุกคน
- ให้ทุกคนในแต่ละกลุ่มได้มีโอกาสอภิปรายและแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึงเท่าเทียมกัน


- บันทึกผลการสังเกตพฤติกรรม
-ประเมินจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เช่น การตั้งคำถาม การตอบคำถาม การนำเสนอ ทำแบบฝึกหัด การวิเคราะห์ผลการทำแบบฝึกหัด การอภิปรายผลการทำแบบฝึกหัด
-ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย


- ประเมินผลการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลา
 มีความรู้เกี่ยวกับ ทฤษฎีและหลักการในการเรียนฟิสิกส์  ได้ทั้งทางภาคทฤษฎีและทำแบบฝึกหัด เกิดความรู้และทักษะการทำงานเป็นทีม
-  จัดการเรียนการสอนแบบใฝ่รู้


- กำหนดแนวทางการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา ในการเรียนจะเรียนในเชิงวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มีทั้งทฤษฎีและทำแบบฝึกหัด
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เช่น การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ตรวจผลงานผลงานหรือชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย- สังเกตการเรียนรู้เมื่อได้รับข้อมูลแล้วสามารถใช้ความคิด อธิบายผลของการได้รับข้อมูลอย่างชัดเจนและมีเหตุผล บันทึกผลการสังเกต
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทางฟิสิกส์และด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรมอื่นๆในเชิงคณิตศาสตร์


 
กำหนดแนวทางการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา ในการเรียนจะเรียนในเชิงวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มีทั้งทฤษฎีและทำแบบฝึกหัด สรุปผล อภิปรายผล
ส่วนการเรียนรู้ในชั้นเรียน
- ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
- ฟังบรรยายเนื้อหา
- แสดงความคิดเห็นถาม-ตอบ
- ทำแบบฝึกหัด
- วิเคราะห์และอภิปรายผล
ส่วนการเรียนรู้นอกชั้นเรียน


เป็นการฝึกทักษะทางสมองและความคิด กับประสาทสัมผัสต่างๆ และทำแบบฝึกหัดเป็นการเรียนรู้เรื่องเนื้อหา ด้วยการสังเกตการณ์ทำงานของผู้อื่น สังเกตการณ์นำทฤษฎีไปใช้ในงานจริง ได้สัมผัสบรรยากาศของทำแบบฝึกหัด
- การมีความผิดชอบ มีวินัย ความสนใจใฝ่รู้
- การเรียนรู้ทฤษฎี
- สอบกลางภาค
- สอบปลายภาค
มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย สามารถเรียนรู้และทำงานร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างราบรื่น มีความเคารพในตนเองและคนอี่นอย่างจริงใจ มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความไว้วางใจต่อบุคคลอื่นๆ มีบุคลิกภาพที่ดี มีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสังคม
- จัดกิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการฟังที่มีประสิทธิผลและทัศนคติเชิงบวก
-   จัดกิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาการเรียนรู้เชิงวิทยาศาสตร์การทำงานเป็นทีม


-  ส่งเสริมกิจกรรมที่เสริมสร้างให้ผู้เรียนแต่ละคนมีโอกาสแสดงออกถึงการมีภาวะแห่งการเป็นผู้นำ
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม
- ประเมินจากผลการประเมินโดยตัวผู้เรียนเองและโดยเพื่อน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์และความรับผิดชอบ
- ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศค้นหาเนื้อหาทั้งก่อนเรียนและหลังเรียน
- ทักษะในการวิเคราะห์ทำแบบฝึกหัด ทั้งบุคคลและกลุ่ม
-  ทักษะในการวิเคราะห์จุดประสงค์การทำแบบฝึกหัด ทั้งบุคคลและกลุ่ม
- ทักษะในการวิเคราะห์แผนการทำแบบฝึกหัด ทั้งบุคคลและกลุ่ม
- ทักษะในการใช้เทคโนโลยีเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำแบบฝึกหัด ทั้งบุคคลและกลุ่ม
- ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขผลการทำแบบฝึกหัด ทั้งบุคคลและกลุ่ม
- ทักษะในการวิเคราะห์การทดลองและผลการทดลองเพื่อนำเสนอผลและการอภิปรายผลการทำแบบฝึกหัดทั้งบุคคลและกลุ่ม
 
 
- แนะแนวแผนการเรียนการสอนและการประเมินทั้งบุคคลและกลุ่ม
-  แนะแนวแผนการเรียนการสอนทั้งทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยี
- ประเมินผลจากคุณภาพของผลการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลจากรายงาน  การนำเสนอ  และความเหมาะสมของสื่อเทคโนโลยีที่ใช้ในการนำเสนอ
สารสนเทศทั้งบุคคลและกลุ่ม
-  แนะแนวแผนการเรียนการสอนทั้งทักษะการเรียนแบบใฝ่รู้ การเรียนเชิงวิทยาศาสตร์การทดลองและแบบฝึกหัดจุดประสงค์การทำแบบฝึกหัด แผนการเรียนรู้ ทั้งบุคคลและกลุ่ม นำเสนอผลและการ    อภิปรายผลการทำแบบฝึกหัด ทั้งบุคคลและกลุ่ม 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะทางความสัมพันธ์และความรับผิดชอบ ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1.2) , (1.3), (2.1) ,(3.2) , (4.3),(5.2) - การทำแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย - การกำหนดเวลาการส่งงานแล้วนักศึกษาส่งตรงตามเวลาที่กำหนด - การเข้าห้องเรียน และพฤติกรรมในห้องเรียน - การใช้ทรัพยากรอย่างคุมค่า เช่น ทำแบบฝึกหัดลงในสมุดที่เหลือ หรือการใช้กระดาษครบทั้ง 2 หน้า เป็นต้น - เนื้อหาของรายงานที่ได้รับมอบหมาย - ความถูกต้องของแบบฝึกหัด - ความซื่อสัตย์ในการสอบย่อย ตลอดภาคเรียน 5%
2 ทักษะทางปัญญา ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1) ,(3.2) ,(5.2) - คะแนนสอบ 3 ครั้ง ตลอดภาคการศึกษา 90%
3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา (1.2) ,(2.1) ,(3.2) ,(5.2) - การทำแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย - การกำหนดเวลาการส่งงานแล้วนักศึกษาส่งตรงตามเวลาที่กำหนด - การเข้าห้องเรียน และพฤติกรรมในห้องเรียน - การใช้ทรัพยากรอย่างคุมค่า เช่น ทำแบบฝึกหัดลงในสมุดที่เหลือ หรือการใช้กระดาษครบทั้ง 2 หน้า เป็นต้น - เนื้อหาของรายงานที่ได้รับมอบหมาย - ความถูกต้องของแบบฝึกหัด - ความซื่อสัตย์ในการสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 5%
1.1 บดินทร์ชาติ  สุขบท, มทร.ธัญบุรี, ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร
1.2 Schaum’s out line series}, Physics 1
1.3 มจธ. , ฟิสิกส์ 1         
1.4 สายันย์ , ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร
            2.1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ฟิสิกส์ 1
            2.2 รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์  , ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
             2.3  R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.,
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป