ศิลปะการใช้ภาษาไทย

Arts of Using Thai Language

 
1.   เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการสื่อสาร
2.  เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจภาษาไทยในกระบวนการสื่อสาร
3.  สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร และประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.  ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
5.  ส่งเสริมให้เห็นคุณค่าภาษาไทยในฐานะเป็นเอกลักษณ์ของชาติ
        2.1   เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
       2.2   เพื่อให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มีการพัฒนาที่สอดคล้องกับ  การเรียนรู้ตลอดชีวิตและการประกอบวิชาชีพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
  2.3   เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของภาษาไทยในฐานะเครื่องมือการสื่อสาร และเป็นมรดกทาวัฒนธรรมของชาติ
  2.4   เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณาจารย์แผนกวิชาภาษาตะวันออกให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และปรับตนเองเพื่อตอบรับต่อองค์ความรู้ใหม่ สู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
 
 
 
     
    ศึกษารูปแบบและวิธีการสื่อสารด้วยการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ  พัฒนากระบวนการคิดอย่างมีระบบร่วมกับการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์  โดยมีศิลปะในการฟังและการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  มีทักษะในการพูดและการเขียนทางวิชาการอย่างมีคุณภาพ   สามารถบูรณาการการใช้ภาษาไทยกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต  ตลอดจนตระหนักถึงการใช้ภาษาไทยในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ          
          Study formats and strategies of effective communication in Thai language; develop systematic thinking and creative communication with the arts of listening and critical reading; be able to speak and write with academic language high quality; be able to integrate Thai language, technology and innovation for lifelong learning; be aware of Thai language use as Thai cultural heritage.
 
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษา และแนะนำสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน  
 
1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนัก
ในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการ / วิชาชีพ
1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1 ) ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม โดยใช้ทักษะทางภาษา
2 )  อภิปรายกลุ่ม
3 )  ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
4 )  กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1 ) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2 )  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3 ) ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4 )  ประเมินผลการนำเสนอผลงานและรายงานที่มอบหมาย
5 )  การส่งงานตรงตามเวลา
2.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 2.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1 )  บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม กรณีศึกษา การใช้สื่อมีเดีย การวิเคราะห์งาน และมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง
2 ) ให้ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
3 ) นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1 )  บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม กรณีศึกษา การใช้สื่อมีเดีย การวิเคราะห์งาน และมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง
2 ) ให้ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
3 ) นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1   มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
 
1 ) บรรยายและอภิปราย การใช้สื่อมีเดียต่างๆ การใช้กรณีศึกษา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
2 ) การมอบหมายให้นักศึกษาแสดงทักษะทางภาษาไทย การทำรายงาน ชิ้นงาน และนำเสนอผลการศึกษา
1 ) เก็บคะแนนย่อย โดยเน้นการใช้ทักษะทางภาษาไทยโดยการปฏิบัติจริง
2 ) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
1 )  มอบหมายงานกลุ่มในการศึกษาค้นคว้า
2 )  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1 ) ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานกลุ่ม
2 ) รายงานการศึกษาและชิ้นงานค้นคว้าด้วยตนเอง
3 ) พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3  สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษา
ต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 
 
 
1 )  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก  website สื่อการสอน e-learning  และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2 ) นำเสนอผลงานโดยใช้รูป
แบบ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
 
 
 
1  ) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อมีเดีย และเทคโนโลยี
2 )  การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBLC201 ศิลปะการใช้ภาษาไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,4 การเข้าชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วม ทุกสัปดาห์ 10%
2 2,3,4 แฟ้มสะสมงาน ชิ้นงาน ทุกสัปดาห์ 20%
3 2,3,4 การปฏิบัติทักษะการสื่อสาร การปฏิบัติทักษะการสื่อสาร 20%
4 2,3 การสอบกลางภาค 8 20%
5 5 การนำเสนองาน / การรายงาน 14 10%
6 2,3 การสอบปลายภาค 16 20%
เอกสารประกอบการสอนวิชาศิลปะการใช้ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง. 2541.  ทักษะภาษานานาวิธี.  กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย. 2539.  การใช้ภาษาไทย 2.  กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชนะ  เวชกุล. 2524.  การเขียนรายงานจากการค้นคว้า.  กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ชวน  เพชรแก้ว, ปรีชา  นุ่นสุข และ ปราณี  ถาวระ.  2524.  การใช้ภาษา,  ครั้งที่ 3.  กรุงเทพฯ : กรุงสยาม
              การพิมพ์.
ดนัย ไชยโยธา. 2551. รู้รักภาษาไทย : สำนวนโวหาร.  กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ธนู ทดแทนคุณ. 2551.  รู้รักษ์ภาษาไทย : ภาษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ธีระพล  อรุณะกสิกร และคณะ. 2540.  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ. กรุงเทพฯ :
              สำนักพิมพ์วิญญูชน.
นพดล จันทร์เพ็ญ. 2539. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ :  ต้นอ้อ แกรมมี จำกัด.
ประภัสสร ภัทรนาวิก. 2545. การเขียนเอกสารสำนักงาน.  สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ปรีชา  ช้างขวัญยืน.  2525.   ศิลปะการเขียน.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิชาการ.
ปรีชา  ทิชินพงศ์. 2523.  ลักษณะภาษาไทย, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ไพโรจน์  อยู่มณเฑียร. 2540.  สำนวนไทยใช้ให้เป็น,  ครั้งที่ 2.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ทฤษฎี.
สมพร มันตะสูตร แพ่งพิพัฒน์. 2540.  การเขียนเพื่อการสื่อสาร.  กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
สุธิวงศ์  พงศ์ไพบูลย์. 2522. การเขียน.  กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
วิเศษ  ชาญประโคน. 2550.   ภาษไทยเพื่อการสื่อสาร, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
เอกฉัท  จารุเมธีชน. 2539.  การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
                -   หนังสือพิมพ์  วารสาร  สื่อสิ่งพิมพ์  เกี่ยวกับเรื่องการสื่อสาร งานเขียนประเภทต่าง ๆ
                                                                                  ฯลฯ
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมี
ผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับ พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ ทักษะในการประมวล/คิด
วิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
1) ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพ
ของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
2) กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอน
3) สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา 
          4) การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบชิ้นงาน ข้อสอบย่อย ข้อสอบกลางภาคปลายภาค รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (ข้อ 4) กลุ่มอาจารย์ผู้สอน
ทบทวนเนื้อหาและกลยุทธ์การสอน แล้วนำเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนารายวิชา เพื่อเสนอต่อที่ประชุมกลุ่มอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาสรุปและวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพื่อนำเสนอภาควิชา / คณะ