ศิลปะประจำชาติ

Thai Traditional Art

              เข้าใจที่มาและอธิบายแรงบันดาลใจ ที่ได้รับจากธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดกำเนิดลายไทย รู้ เข้าใจชื่อและอธิบายลักษณะของลายแบบต่าง ๆ พร้อมกับการปฏิบัติงานเขียนด้วยดินสอ พู่กัน
      2.1 เพื่อศึกษาที่มา และความบันดาใจ ที่ได้รับจากธรรมชาติ  ซึ่งก่อให้เกิดลายไทย
      2.2 เพื่อศึกษาชื่อ และลักษณะของลายแบบต่างๆ
      2.3 เพื่อฝึกปฏิบัติงานเขียนด้วยดินสอ พู่กัน
ศึกษาที่มาและความบันดาลใจ ที่ได้รับจากธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดกำเนิดลายไทย ชื่อและลักษณะของลายแบบต่าง ๆ พร้อมกับการปฏิบัติงานเขียนด้วยดินสอ พู่กัน
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนวันละ 1 ชั่วโมง(สัปดาห์ละ5ชั่วโมง) อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาผ่าน Email  (keam5300@hotmail.com)
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
 
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
 
2.1.1 มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับการเรียนรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดศิลปประจำชาติ
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงาน
3.2.2 มีเอกสารและใบงานให้นักศึกษาปฏิบัติงาน
3.3.1 สอบกลางและสอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบในเนื้อหาศิลปประจำชาติ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงาน
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม 
  กำหนดเวลา
 
4.2.1 มอบหมายงานรายบุคคลงานสรุป
4.2.2 การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงาน
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และงามรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับการเรียนรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 40000001 ศิลปะประจำชาติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2.1 มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สอบกลางภาค สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 17 15% 15%
2 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม การฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์ การปฏิบัติงานโครงงานที่มอบหมาย สัปดาห์ที่ 1-4 สัปดาห์ที่ 15-16 50% 10%
3 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับการเรียนรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
นายขจรศักดิ์  สถิรวัฒนานนท์. การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ (จิตรกรรม). 2554
ชัชธ์  ประทินอักษร. ศิลปไทย. บันทึกเอกสารคําสอนเย็บเล่ม.
น.ณ.ปากน้ำ. วิวัฒนาการลายไทย. สํานักพิมพ์เมืองโบราณ, 2524.
นู โอสถานุเคราะห์. แบบและลวดลายระบายสี. นูเฮ้าส์, 2524.
ไม่มี
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการสืบค้นรายวิชา เช่น
http://kamonnat55.wordpress.com
http://www.bspwit.ac.th
http://www.sexglitz.com
http://my.dek-d.com
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
            - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
            - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
            - ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
            - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
            - ผลการสอบ
            - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
            - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
            - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
            - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
            - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
            - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
            - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ