วิศวกรรมการเชื่อม

Welding Engineering

ศึกษาและปฏิบัติการเชื่อมและการตัดด้วยวิธีการต่างๆ การเตรียมงานเชื่อมขั้นตอน งานเชื่อม อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อม การเลือกลวดเชื่อม ข้อบกพร่องในงานเชื่อมข้อจํากัด ของกระบวนการเชื่อมต่าง ๆ รวมถึงความปลอดภัยในงานเชื่อมพื้นฐานโลหะวิทยางาน เชื่อม การเชื่อมเหล็กกล้า เหล้ากล้าประสม เหล็กหล่อ อลูมิเนียม และโลหะประสม อื่นๆ การต่อวัสดุต่างชนิด การเชื่อมพอกผิว  การปรับปรุงคุณสมบัติงานเชื่อมรวมถึง หุ่นยนต์ช่วยสําหรับงานเชื่อมและระบบอัตโนมัติต่างๆ 
-
ศึกษาและปฏิบัติการเชื่อมและการตัดด้วยวิธีการต่างๆ การเตรียมงานเชื่อมขั้นตอน งานเชื่อม อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อม การเลือกลวดเชื่อม ข้อบกพร่องในงานเชื่อมข้อจํากัด ของกระบวนการเชื่อมต่าง ๆ รวมถึงความปลอดภัยในงานเชื่อมพื้นฐานโลหะวิทยางาน เชื่อม การเชื่อมเหล็กกล้า เหล้ากล้าประสม เหล็กหล่อ อลูมิเนียม และโลหะประสม อื่นๆ การต่อวัสดุต่างชนิด การเชื่อมพอกผิว  การปรับปรุงคุณสมบัติงานเชื่อมรวมถึง หุ่นยนต์ช่วยสําหรับงานเชื่อมและระบบอัตโนมัติต่างๆ 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1.3.1ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.3ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค, ปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคทฤษฎี ,พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.2.1ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา เป็นต้น
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสมสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.2.2มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพใน สาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1  ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนําเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ ความสําคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.3.1 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจํากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือ ต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่าง ๆ ที่มีการนําเสนอต่อชั้นเรียน
6.1.1มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
       6.3.2 มีการประเมินผลการทํางานในภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.1.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 11 5
2 2.2.1.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 12 5
3 2.2.1.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 3 13 5
4 2.2.1.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 4 16 5
5 2.2.1.6 การส่งงานตามที่มอบหมาย 2-6,9-12,14 20
6 2.2.1.1 การเข้าชั้นเรียน 2-7,9-16 10
7 2.2.1.2 สอบกลางภาค 8 25
8 2.2.1.2 สอบปลายภาค 17 25
มงคล เพิ่มฉลาด. วิศวกรรมการเชื่อม : Welding Engineering. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.  กรุงเทพฯ. 2556
สุรสิทธิ์ แก้วพระอินทร์. โลหะวิทยาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ซีเอ็ดยูเคชั่น,            บมจ. 2553
ชูชาติ ด้วงสงค์ . การทดสอบงานเชื่อมแบบทำลายสภาพ (Destructive Testing of Welds) . กรุงเทพฯ : ส.ส.ท. 2550
 
http://thermal-mech.com/product-category/welding-robot/advanced-welding-process/
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการเรียนของนักศึกษา
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4