แคลคูลัส 1 สำหรับวิศวกร

Calculus 1 for Engineers

เข้าใจฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่อง แก้ปัญหาการหาอนุพันธ์และบทประยุกต์ คำนวณการหาปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ แก้ปัญหาการประยุกต์ของปริพันธ์จำกัดเขต เป็นวิชาในการศึกษาวิชาแคลคูลัสชั้นสูงและวิชาด้านวิศวกรรม เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ของผู้เรียนในด้านการฝึกสมองอันเป็นแนว

ทางให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  และแก้ปัญหาต่างๆได้ด้วยตนเอง
ให้เข้าใจเกี่ยวกับฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่อง การหาอนุพันธ์ การประยุกค์ของอนุพันธ์ การหาปริพันธ์เทคนิคการหาปริพันธ์ การประยุกต์ของปริพันธ์จำกัดเขต
ศึกษาเกี่ยวกับฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่อง การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง   รูปแบบยังไม่กำหนด  การประยุกต์ของอนุพันธ์  การหาปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง  เทคนิคการหาปริพันธ์   การประยุกต์ของปริพันธ์จำกัดเขต
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอบสูตรที่ใช้ในบทเรียนต้นชั่วโมง มาสายหมดสิทธิ์สอบสูตร
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการคำนวณในแต่ละวิธีในเนื้อหาที่เรียน พร้อมทั้งในสูตรในการคำนวณ
- แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง
- ซักถามข้อสงสัย
มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัดส่งตามกำหนด
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- การเลือกใช้วิธีการในการแก้ปัญหาโจทย์ได้ถูกต้อง
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการคำนวณในแต่ละวิธีในเนื้อหาที่เรียน พร้อมทั้งในสูตรในการคำนวณ
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบข้อเขียน
วิเคราะห์ และแก้ปัญหาโจทย์โดยพิจารณาจากการซักถามในห้องเรียน
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- มอบหมายให้ทำโจทย์ปัญหา
- เสนอแนวคิดที่ใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา
ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์
-
-
-
-
-
-
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 3.2 สอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 9 13 17 20% 20% 20% 20%
2 1.3, 2.1, 3.2 การส่งงานตามที่มอบหมาย รายบุคคล จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 15% 5%
Thomas, G., et al. Thomas’ Calculus Early Transcendentals Update. MA: Addison-

Wesley, Inc., 2003.

John Thomas, Thomas’ Calculus, Pearson education Indochina ltd , 2005. Monty J. Strauss, Gerald L. Bradley and Karl J.Smith., Calculus. 3rd Edition, Prentice-Hall Inc., 2002. Anton, H., Bivens, I.C., Davis, S. Calculus Late Transcendentals. New York: John Wiley

and Sons, Inc., 2010.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการสอบ
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของทีมผู้สอน
การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ