หลักมูลวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

Fundamentals of Electronics Engineering

1.1 เข้าใจโครงสร้างและหลักการทำงานของอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำต่าง ๆ เช่น ไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ซอตกีไดโอดและไดโอดเปล่งแสง ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร ์และทรานซิสเตอร์แบบสนามไฟฟ้าเจเฟ็ต และมอสเฟ็ต 1.2 เข้าใจการไบแอสวงจรทรานซิสเตอร์ และการวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์ โดยใช้วงจร ต้นแบบของวงจรแบบคอลเล็กเตอร์ร่วม เบสร่วม และอิมิตเตอร์ร่วมชนิดที่มีและไม่มีความต้านทาน อัตราการตอบสนองความถี่ วงจรแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง และวงจรควบคุมแรงดันให้คงที่ 1.3 เข้าใจการนำวงจรรวมออปแอมป์ และการประยุกต์ใช้งาน วงจรกรองความถี่แบบพาสซีฟ และ แบบแอกทีฟ วงจรออสซิลเลเตอร์แบบต่าง ๆ 1.4 สามารถนำเอาวิชาหลักมูลทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไปประยุกต์ใช้งานได้
- เพื่อให้การเรียนการสอนและหลักสูตรทันสมัยใหม่อยู่เสมอ
โครงสร้างและหลักการทำงานของอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำต่าง ๆ เช่น ไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ซอตกีไดโอดและไดโอดเปล่งแสง ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร ์และทรานซิสเตอร์แบบสนามไฟฟ้าเจเฟ็ต และมอสเฟ็ต การไบแอสวงจรทรานซิสเตอร์ และการวิเคราะห์วงจรทรานซิสเตอร์ โดยใช้วงจร ต้นแบบของวงจรแบบคอลเล็กเตอร์ร่วม เบสร่วม และอิมิตเตอร์ร่วมชนิดที่มีและไม่มีความต้านทาน อัตราการตอบสนองความถี่ วงจรแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง และวงจรควบคุมแรงดันให้คงที่ แนะนำวงจรรวมออปแอมป์ และการประยุกต์ใช้งาน วงจรกรองความถี่แบบพาสซีฟ และ แบบแอกทีฟ วงจรออสซิลเลเตอร์แบบต่าง ๆ วงจรอเนกระรัว และวงจรเอกระรัว
Semiconductor devices; current-voltage and frequency characteristics; analysis and design of diode circuits; analysis and design of BJT, MOS, CMOS and BiCMOS transistor circuits, operational amplifier and its applications, power supply module.
- 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ทุกวันจันทร์ช่วงที่ไม่ติดภาระงานสอน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1.2.1 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
1.2.2 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.3 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.4 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและ/หรือการขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.3 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.4 ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาวิชวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
2.2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
2.2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.2 นำกิจกรรมการบริการวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่ถ่ายทอดให้ชุมชนเข้ามาถ่ายทอดในชั้นเรียนด้วยโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.3 จัดศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมการเรียนรู้
2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ
2.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม และ/หรือการทดสอบย่อย
2.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม และ/หรือการทดสอบย่อย
3.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหาและการนำวิชาการไปประยุกต์ใช้อย่างมีทักษะ
3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.1 สังเกตจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคมและให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.2 นำนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมบริการวิชาการโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4.2.3 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำงานร่วมกับชุมชนในกรณีออกบริการวิชาการให้ชุมชนและให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.4 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม
4.3.1 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่มและติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล 4.3.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการระดมสมองและความร่วมมือ 4.3.3 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมองและ/หรือการประเมินผลจากทดสอบย่อยและกิจกรรมกลุ่ม 4.3.4 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการระดมสมองและความร่วมมือทำงานเป็นทีม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
5.2.2 ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.3 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
5.3.1 ประเมินจากผลงานการทดสอบย่อยและการนำเสนอผลงาน
5.3.2 ประเมินจากผลงานการทดสอบย่อยและการนำเสนอผลงาน
5.3.3 ประเมินจากผลงานการทดสอบย่อยและการนำเสนอผลงาน
---
---
---
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.3,4.1.4, 4.2.1,4.2.3, 4.3.2, 1. สอบปฏิบัติการทดลองครั้งที่ 1 2. สอบกลางภาค 3. สอบปฏิบัติการทดลองครั้งที่ 2 4. สอบปลายภาค 8 9 16 17 10% 25% 10% 25%
2 4.2.1,4.2.3, 4.5.3 แบบฝึกหัดและ/หรือปฏิบัติการทดลอง 1 – 7 และ 10 - 15 25%
3 4.1.1,4.1.2, 4.2.2,4.3.1, 4.3.2,4.4.2, 4.4.3, 4.5.3 การเข้าชั้นเรียน ทักษะพิสัย การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1 – 7 และ 10 - 15 5%
1. รศ.บุญเรือง วังศิลาบัตร : Electronics Engineering and Circiut Design
2. ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ :“วิศวกรรมไฟฟ้า” (Electrical Engineering) ภาคทฤษฎี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ