วิศวกรรมส่องสว่าง

Illumination Engineering

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมของแสง การกำเนิดแสง
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และคำนวณเกี่ยวกับกฎการส่องสว่าง
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการวัดการส่องสว่าง แหล่งกำเนิดแสงและองค์ประกอบการเลือกใช้
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับชนิดและหน้าที่ของดวงโคม
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และคำนวณเกี่ยวกับการออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคารและภายนอกอาคาร
6. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการออกแบบระบบแสงสว่างโดยใช้คอมพิวเตอร์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เพื่อนำไปใช้งานที่เกี่ยวข้อง ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีการส่องสว่างที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับ แสงสว่าง ดวงตาและการมองเห็น สีและการจำแนกสี แหล่งกำเนิดแสง ดวงโคมไฟฟ้า สภาวะแวดล้อมของการส่องสว่าง การออกแบบส่องสว่างภายในและภายนอกอาคาร แนวทางการประหยัดพลังงานด้านวิศวกรรมการส่องสว่าง
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียนและชั่วโมงสอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
-   การรู้คุณค่าในตัวเองและผู้อื่น การเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต  -   การมีความรับผิดชอบในหน้าที่ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม การมีวินัย ความตรงต่อเวลา -   การเคารพในสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ -   การเคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
-   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม กล้าตัดสินใจในทางที่ถูกต้องเหมาะสม
-   มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพและทางวิชาการ
 
-   กำหนดข้อปฏิบัติร่วมกันในการเรียน ความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย -   มอบหมายงานให้รับผิดชอบเป็นกลุ่ม ให้ทุกคนมีโอกาสแสดงความสามารถและความคิดเห็นร่วมกัน -   จัดกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่หลากหลายสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น
 
-  ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา -  ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการเรียน -  ประเมินผลงานที่ส่ง มีความถูกต้องเหมาะสมตรงตามที่ได้รับมอบหมาย
 
พฤติกรรมของแสง การกำเนิดแสง กฎการส่องสว่าง การวัดการส่องสว่าง แหล่งกำเนิดแสง        และองค์ประกอบ การเลือกใช้งาน ชนิดและหน้าที่ของดวงโคม การออกแบบระบบ แสงสว่างภายในอาคาร      และการออกแบบแสงสว่างภายนอกอาคาร
บรรยาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าก่อนถึงเนื้อหาที่เรียน มีการอภิปราย ถามตอบ ทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน และมีการทำงานเดี่ยวและงานกลุ่มโดยการศึกษาและใช้โปรแกรมสำเร็จรูป การนำเสนอรายงาน เพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ และการร่วมทำงานเป็นกลุ่ม
-  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค เน้นทฤษฎีและความเข้าใจ -  ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
 
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ ตามหลักการทางวิศวกรรมส่องสว่าง เพื่อนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสร้างสรรค์
-   การมอบหมายปัญหาพิเศษให้นักศึกษา เพื่อนำไปสู่การศึกษาค้นคว้า และร่วมกันคิดวิเคราะห์ -   อภิปรายกลุ่ม -   มีการทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน เมื่อมีข้อสงสัย ติดปัญหา สามารถสอบถามให้เข้าใจได้ทันที
 
  -   สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบทฤษฎีตามหลักวิศวกรรมส่องสว่าง   -   วัดผลจากการประเมินการนำเสนองาน การอภิปราย การแสดงความคิดเห็น   -   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
-   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน -   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม -   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
 
-   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา -  มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าการเลือกใช้ดวงโคม หลักการออกแบบระบบส่องสว่างที่ดี -   การนำเสนอรายงาน
 
-   ประเมินความรับผิดชอบจากงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล -   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน -   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
 
- ทักษะการคำนวณเชิงตัวเลขในทางวิศวกรรมส่องสว่าง - พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอในรูปแบบที่มีเครื่องมือด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
- ทักษะในการสืบค้นข้อมูล การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ไม่ว่าจะเป็นการสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต หรือหนังสือเอกสารการเรียนรู้ต่างๆ 
- มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน e-Learning และการทำรายงาน โดยเน้นหลักการออกแบบระบบส่องสว่าง และอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ - จำลองการออกแบบระบบส่องสว่างผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการวิเคราะห์ - นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม - ให้สรุปผลการอภิปรายร่วมกันทั้งห้อง และสามารถนำเสนอแนวคิดจากการวิเคราะห์ได้เข้าใจง่าย
 
- ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี - ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
1 32082308 วิศวกรรมส่องสว่าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กฏการส่องสว่าง การวัดค่าการส่องสว่าง ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 4 10%
2 กฏการส่องสว่าง หน่วยวัดทางแสง การมองเห็น แหล่งกำเนิดแสง โคมไฟ สอบกลางภาค 8 20%
3 การออบแบบส่องสว่าง ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 12 10%
4 การออบแบบส่องสว่างภายในและภายนอกอาคาร การออกแบบส่องสว่างไฟถนน สอบปลายภาค 16 20%
5 การทำงานกลุ่ม ค้นคว้าศึกษา และนำเสนอ การทำงานเดี่ยว แบบฝึกหัดในทุกคาบเรียน การส่งงานตามกำหนด การทำงานกลุ่ม ค้นคว้าศึกษา และนำเสนอ การทำงานเดี่ยว แบบฝึกหัดในทุกคาบเรียน การส่งงานตามกำหนด ทุกสัปดาห์ 30%
6 การเข้าเรียนในคาบ การมีส่วนร่วมในการเรียน การตอบคำถาม การเข้าเรียนในคาบ การมีส่วนร่วมในการเรียน การตอบคำถาม ทุกสัปดาห์ 10%
เอกสารประกอบการสอน
1.  รศ.ดร.ชำนาญ  ห่อเกียรติ.  เทคนิคการส่องสว่าง. 2.  อ.ชาญศักดิ์  อภัยนิพัฒน์.  เทคนิคการออกแบบระบบแสงสว่าง. 3.  อ.มงคล  ทองสงคราม.  วิศวกรรมการส่องสว่าง.
 
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- แบบประเมินผลการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ  รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่ได้มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ