ฟิสิกส์พื้นฐาน 1

Fundamental Physics 1

เข้าใจเรื่องเวกเตอร์ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน งานและพลังงาน โมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่ของระบบอนุภาค จุดศูนย์กลางมวล การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง การเคลื่อนที่แบบออสซิเลส กลสาสตร์ของไหล ความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น คลื่นกล มีทักษะในการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิทยาศาสตร์ ประยุกต์วิชา ฟิสิกส์พื้นฐาน 1 กับชีวิตประจำวัน วิชาชีพหรือเทคโนโลยีใหม่ๆได้ มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
1.  ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2.  ส่งเสริมความให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
3.  สามารถนาความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
4.  สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาเกี่ยวกับเวกเตอร์ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน งานและพลังงาน โมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่ของระบบอนุภาค จุดศูนย์กลางมวล การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง การเคลื่อนที่แบบออสซิเลส กลศาสตร์ของไหล ความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น คลื่นกล
The study of vectors , Newton's law of motion , work and energy , momentum and collision , center of mass , rigid body motion , oscillatory motion , fluid mechanics , heat and fundamental of thermodynamics , mechanical waves.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  ·
1.4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. การให้คะแนนการเข้ำชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  ·
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง  o
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษำมีการตั้งคาถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง
3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. ทดสอบย่อย
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  ·
1. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
1. ทดสอบย่อย
2. แบบฝึกหัด และการนำเสนองาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม  ·
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 FUNSC105 ฟิสิกส์พื้นฐาน 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 , 3.2 การสอบกลางภาค ปลายภาค 1-15 50%
2 2.1 , 3.2 การทดสอบย่อย หรือ ทดสอบในชั้นเรียน 1-15 25%
3 4.3 , 5.2 งานที่มอบหมาย และ/หรือ แบบฝึกหัดประจำบท 1-15 15%
4 1.2 , 1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 5%
5 1.2 , 1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-15 5%
1. แผนกหนังสือพิเศษด้านอิเล็กทรอนิกส์. (2538). อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน จำกัด.
2. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. (2547). ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์. ปทุมธานี: ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
3. ยัง, ฮัก ดี. และ ฟรีดแมน, โรเจอร์ เอ. (2548). ฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา 2 [University physics with modern physics] (ปิยพงษ์ สิทธิคง, ผู้แปลและเรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1).  กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชัน อินโดไชน่า.
4. เรย์มอนด์ เอ เซอร์เวย์ และ จอห์น ดับบิล เจเวตต์. (2559). ฟิสิกส์ 2 [Physic for scientists and engineers] (ประธานบุรณศิริ และคณะ, ผู้แปล; กีรยุทธ์ ศรีนวลจันทร์ม, ผู้เรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1).  กรุงเทพฯ: เซนเกจ เลินนิ่ง อินโด-ไชน่า จำกัด.
5. Boylestad, R., and Nashelsky L. (1998).  Electronic Devices and Circuit Theory (7th ed.).  New Jersey: Prentice Hall.
6. Cutnell, J.D. and Johnson K.W. (2001). Physics (8th ed.). United States of America, NJ : Jonh Wiley & Sons.
7. Floyd, T.L. (2012). Electronic devices : electron flow version (9th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
8. Halliday, D., Resnick, R., & Walker, J. (2007). Fundamentals of Physics (8th ed.). New York: John Wiley & Sons. Inc.
9. Hirsch, A.J., Martindale, D., Bibla, S. (2001). Nelson Physics 11. Canada: Nelson Canada Elhi.
10. Serway, R.A., and Jewett, J.W. (2010). Physic for scientists and engineers II (8th ed.). United States: Thomson Brooks/Cole.
11. Young, H.D., Freedman, R.A. (2012).  University physics with modern physics (13th ed.). U.S.A.: Addison-Wesley.
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
2 กำรสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2 ติดตามงานที่มอบหมาย
3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
แผนกวิชา ฯ กำหนดให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ดำเนินการดังนี้

ปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินผลการสอน ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อกำหนดแนวทางและวิธีการวัดและประเมินผล ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
แผนกวิชามีระบบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยการพิจารณาจาก

ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน

และในระหว่างภาคเรียน จะเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้รับทราบผลการเรียนรู้ รวมทั้งก่อนสอบปลายภาคจะมีการแจ้งผลคะแนนสะสมให้นักศึกษาได้ทราบ
ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และวางแผนการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป