การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1

Basic Engineering Skill Training 1

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับทักษะการใช้เครื่องมือกล ได้แก่ การใช้เครื่องมือวัดเชิงกล งานตะไบ งานเจียรลับคม งานเจาะ งานตัด งานกลึง งานสกัด งานไส การทาเกลียวด้วยมือตลอดจน การใช้เครื่องมือช่างพื้นฐานทั่วไป การบารุงรักษา และการปรับตั้งเครื่องมือกล
2.1 เพื่อผลิตนักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานเทคโนโลยีเครื่องกลประเภทต่างๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน
2.2 เพื่อผลิตนักศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในการทำงาน โดยเน้นทักษะในการทำงานการให้ความรู้ประสบการณ์และการอบรมจริยธรรม คนงาน หรือช่างฝีมือตลอดจนการประสานงานการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
2.3 เพื่อฝึกฝนให้นักศึกษามีความริเริ่มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า วางแผนเตรียมการรวมทั้งปรับปรุงและพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอสามารถแก้ปัญหาด้วยหลักการและเหตุผลปฏิบัติงานด้วยหลักวิชาการที่มีการวางแผนและควบคุมอย่างรอบคอบ ซึ่งจะก่อให้ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างประหยัด รวดเร็วและมีคุณภาพ
2.4 เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีคุณธรรม มีระเบียบวินัยตรงต่อเวลา ชื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร สำนึกในจรรยาวิชาชีพ รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับทักษะการใช้เครื่องมือกล ได้แก่ การใช้เครื่องมือวัดเชิงกล งานตะไบ งานเจียรลับคม งานเจาะ งานตัด งานกลึง งานสกัด งานไส การทาเกลียวด้วยมือตลอดจน การใช้เครื่องมือช่างพื้นฐานทั่วไป การบารุงรักษา และการปรับตั้งเครื่องมือกล
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งตามลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ วิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย
2. ประเมินจากการกระทาทุจริตในการสอบ
ความรู้ที่ได้รับของรายวิชาคือ มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการปฏิบัติงานเกี่ยวกับทักษะปฏิบัติงานเกี่ยวกับทักษะการใช้เครื่องมือกล ได้แก่ การใช้เครื่องมือวัดเชิงกล งานตะไบ งานเจียรลับคม งานเจาะ งานตัด งานกลึง งานสกัด งานไส การทาเกลียวด้วยมือตลอดจน การใช้เครื่องมือช่างพื้นฐานทั่วไป การบารุงรักษา และการปรับตั้งเครื่องมือกล
- ใช้การสอนโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ - จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - มอบหมายให้นักศึกษาทำตามใบงาน
ประเมินจากการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ
1 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูล ประกอบ การตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 สามารถสืบค้นข้อมูล และแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากใบงาน 2 มอบหมายตามใบงาน โดยใช้หลักพื้นฐานทางวิศวกรรม 3 การศึกษา ค้นคว้า และรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
1) พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2) พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3 )พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1) จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2) มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการอ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3 )การนำเสนอรายงาน
1) ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2) รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3) รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1) ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
2) พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
3) พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
4) พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5) ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น Web block การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
6) ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2) นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2) การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1.มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1.ให้นักศึกษารับผิดชอบเมื่อใช้เครื่องจักรแต่ละเครื่องภายในโรงงาน
2.ให้นักศึกษารับผิดชอบแบ่งเป็นกลุ่มและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามกลุ่มที่ได้รับผิดชอบ
1.สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านการนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2.ให้นักศึกษารับผิดชอบแบ่งเป็นกลุ่มและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามกลุ่มที่ได้รับผิดชอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ความรู้ คุณธรรม ปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG109 การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เข้าเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง ของแต่ละบุคคล พิจารณาจากชิ้นงานของแต่ละบุคคล มีคะแนน 60 คะแนนหรือ 60 เปอร์เซ็นต์ ตลอดภาคการศึกษา 60%
2 เข้าเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง ของแต่ละบุคคล พิจารณาจากการตรวจลักษณะโดยรวมของชิ้นงานแต่ละบุคคล มีคะแนน 20 คะแนน หรือ 20 เปอร์เซ็นต์ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 เข้าเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง ของแต่ละบุคคล พิจารณาจากงานมอบหมาย มีคะแนน 10 คะแนน หรือ 10 เปอร์เซ็นต์ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 เข้าเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง ของแต่ละบุคคล พิจารณาจากจิตพิสัย ความสนใจ เวลาเรียน การแต่งกาย ความประพฤติ การเข้าร่วมกิจกรรม มีคะแนน 10 คะแนนหรือ 10 เปอร์เซ็นต์ ในการเข้าชั้นเรียนโดยนักศึกษาปฏิบัติตามกติกาและข้อปฏิบัติต่างๆ ที่นักศึกษาสมควรปฏิบัติตาม ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. จินดา พรหมเสนา. ระบบและความปลอดภัยในโรงงาน. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่บริษัทศรีสง่าวิชาการ
(1995) จำกัด, 2531.
2. จำเนียร ศิลปะวานิช และเสน่ห์ กลิ่นบุนนาค. คู่มือฝึกฝีมือพื้นฐานเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่
เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์, 2540.
3. ฉวีวรรณ รมยานนท์. ทฤษฎีงานช่างพื้นฐานงานฝึกฝีมือเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
จัดพิมพ์โดยบริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชจำกัด, 2539.
4. ชะลอ การทวี งานเครื่องมือกลเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอมพันธ์ , 2546
5. ชาญชัย เดชะเสฏฐดี, นพพร ตรีเทวี และสมศักดิ์ ชำนาญท่องไพวัลห์. คู่มือช่างกลโรงงาน
ภาคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนจำกัดสำนักพิมพ์ยูไนเต็ดบุ๊คส์,
2539.
 
6. ดอกธูป พุทธมงคล และคณะฯ. ทฤษฎีงานช่างพื้นฐานงานฝึกฝีมือเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่
โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ม.ป.ป.
7. นริศ ศรีเมฆ เขียนแบบเทคนิค . กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์ เอมพันธ์ , 2545
8. ทศพล สังข์อยุทธ์ การวัดละเอียด. นนทบุรี : จตุพรดีไซด์, 25454.
9. ธวัชชัย อินทุใส และคณะฯ. ทฤษฎีช่างกลทั่วไป. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่บริษัทสยามสปอร์ตซินดิเคท
จำกัด, 2542.
10. ธีรยุทธ สุวรรณประทีป. เครื่องมือวัดละเอียด. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่บริษัท เอช.เอ็น.กรู๊ปจำกัด,
2538.
11. บุญญศักดิ์ โจลงกิจ. คณิตศาสตร์ช่างเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าพระนครเหนือ, 2522.
12. ประเวช มณีกุต. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จิรวัฒน์, ม.ป.ป.
13. ปริญญ์ บุญกนิษย์. การวัดละเอียด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอมพันธ์ , 2547.
14. ฝ่ายวิชาการบริษัทสกายบุ๊คส์. การวัดละเอียด. กรุงเทพฯ : บริษัทสกายบุ๊คส์ , 2534.
15. วิทยา ทองขาว. ทฤษฎีงานฝึกฝีมือ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่บริษัท เอช.เอ็น.กรู๊ปจำกัด, 2539.
16. วินัย ตรีไพชยนต์ศักดิ์. แบบฝึกหัดงานฝึกฝีมือเบื้องต้น. กรุงเทพ ฯ :โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
17. วินัย ตรีไพชยนต์ศักดิ์. แบบฝึกหัดงานฝึกฝีมือเบื้องต้นงานตะไบปรับประกอบ. กรุงเทพ ฯ :โรง
พิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ม.ป.ป.
18. วีระ รัตนไชย. ทฤษฎีงานฝึกฝีมือ 1-2. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนจำกัดนำอักษรการพิมพ์,
2540.
19. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย–ญี่ปุ่น คณิตศาสตร์ช่างอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: บริษัท ส.
เอเซียเพรส จำกัด, 2542.
20. สุธี รัตนเสถียร และอนันต์ชัย เที่ยงดาห์. ระบบและความปลอดภัยในโรงงาน. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2535.
21. เอกสารประกอบการฝึกอบรม. งานฝึกฝีมือเบื้องต้น. ชลบุรี, 2545.
22. อรุณสก กลิ่นศรีสุข. แบบฝึกฝีมือ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สกายบุคส์ , 2538.
23. อนันต์ วงศ์กระจ่าง. ทฤษฏีงานฝึกฝีมือ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ หจก.โรงพิมพ์ศรีสยาม, 2530.
24. อำพล ซื่อตรง. งานฝึกฝีมือ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, ม.ป.ป.
25. C. Thomas Olivo Fundamentals of Machine tool Technology and Manufacturing
Process. America, 1990.
26. Steve F. Krar Technology of Machine Tools. New York : Glencoe Mc Graw–Hill,
1995.
27. Victor E. Repp , Willard J. Mc Carthy MetalWork Technology and Practive.
America: Mc Graw – Hill, 1989.
28. William P. Spence Drafting Technogy and Practive. America: Mc Graw – Hill,
1991.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาเชิงวิชาการจัดการเรียนการสอน
การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
ให้นักศึกษาค้นคว้าทำรายงานเนื้อหาวิชาฝึกฝีมือเบื้องต้น เพื่อจะนำเอามาประยุกต์ใช้ให้ทันกับสมัยปัจจุบัน