เคมีอินทรีย์

Organic Chemistry

1.1 รู้ประโยชน์และความสำคัญของวิชาอินทรีย์เคมี
1.2 เข้าใจโครงสร้างของสารอินทรีย์
1.3 เข้าใจสูตรและวิธีการทดสอบ  สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมีและการเตรียมสารอินทรีย์
1.4 อธิบายปฎิกิริยาของสารอินทรีย์
-
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง สมบัติ ปฏิกิริยาและการเตรียมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์      ทั้งชนิดสารประกอบ อะลิฟาติก  สารประกอบอะลิไซคลิก สารประกอบอะโรมาติกและอนุพันธ์  สเตอริโอเคมีและปฎิบัติการ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ก่อนเรียนเนื้อหาทุกครั้งฝึกให้นักศึกษามีวินัย ตรงต่อเวลา รู้จักรับผิดชอบ
2. มอบหมายงาน แบบฝึกหัด ใบงาน
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. ความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม  การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง และมีการทำปฏิบัติการควบคู่กันไปในแต่ละหน่วยเรียน
2.มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม  เพื่อให้สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขเมื่อพบข้อขัดแย้งจากการทำงานร่วมกัน
3. สอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1.การสอบย่อยรายหน่วย สอบเก็บคะแนนสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2.ทำรายงานรายบุคคล
3.การทำงานที่มอบหมาย
 
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
2.ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
3.ฝึกแก้ปัญหาโดยการคิดวิเคราะห์ในบทปฏิบัติการที่อาจเกิดกรณีจากการที่ผลการทดลองไม่เป็นไปตามทฤษฎี
1. การสังเกตจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
2. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
3.ข้อสอบอัตนัยหรือปรนัย
4.ทดสอบย่อย
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก
2. มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
3.กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
1.ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
2.ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
3.ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
4.ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่นๆในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. สอนแบบบรรยาย  พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
2.การสอนมีการนำเสนอข้อมูลโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
4. การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ


 
1.ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
2.ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCCC108 เคมีอินทรีย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 3.1, 4.3, 5.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4, 8, 12, 17 10% 25% 10% 25%
2 1.3 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 4 10%
3 1.3,2.1,3.1,4.3,5.2 แบ่งกลุ่มไปค้นค้วาเพิ่มเติมเพื่อนำเสนอโครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2 10%
4 1.3,2.1,3.1,4.3,5.2 การสอบกลางภาค 8 25%
5 1.3,2.1,3.1,4.3,5.2 แบ่งกลุ่มค้นค้วาและรายงานเรื่องสารอินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตพร้อมทั้งสาธิตผลิตภัณฑ์สารอินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต 9 10%
6 1.3,2.1,3.1,4.3,5.2 การสอบปลายภาค 17 25%
        เริงนภรณ์   โม้พวง.2542   เคมีอินทรีย์.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพิษณุโลก.    247 หน้า.
สุนันทา วิบูลย์จันทร์. 2539. เคมีอินทรีย์. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.583 หน้า.
Morison, R.T & Boyd, R. N., Organic Chemistry , 6th, ed, New York University, Prentice HallInternational Inc. New Jersy, 1992.
 เกษร พะลัง. เคมีอินทรีย์เบื้องต้น .พิมพ์ครั้งที่ 5. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 2539.
ชัยวัฒน์ เจนวานิชย์. พจนานุกรมเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 1. ดอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 2524.

พงษ์ทิพย์ โกเมศโสภา และธนานิธ เสือวรรณศรี เคมีอินทรีย์พื้นฐาน ยูไนเต็ดบุ๊คส์ กรุงเทพฯ 2534.

ธวัชชัย ชรินพานิชกุล. รวมศัพท์เคมี. ซีเอ็ดยูเคชัน. กรุงเทพฯ. 2540.
ราชบัณฑิตสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพ์ครั้งที่ 6 . อักษรเจริญ ทัศน์. กรุงเทพฯ.2539.
ลัดดา มีสุข . พจนานุกรมศัพท์เคมี. เจเนอรัลบุ๊ค เซนเตอร์ .กรุงเทพฯ . 2533.
อุดม ก๊กผล, โสภณ เริงสำราญ และอมร เพชรสม .อินทรีย์เคมี .พิมพ์ครั้งที่ 5 . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . 2539.
Bettelheim, F.A.& March, J, Introduction to General , Organic &Biochemistry , 3th, ed, Saunder College, USA, 1991.
Linestromberg, W, W, & Baumgarten, H, E, Organic Chemistry:A Brief Cours , 5th, ed, Iieath & Company, USA, 1983. 
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยการเสนอเมื่อจบแต่ละหน่วยเรียน
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา สาขากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียน มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา สรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป