กลวิธีการสอนช่างเทคนิค

Didactic for Technical Training

ฝึกทักษะในการสอนช่างเทคนิค  เลือกหัวข้อสอนเนื้อหาสั้นๆ  เตรียมบทเรียน  สื่อการสอนอุปกรณ์การสอนต่างๆตลอดจนขั้นตอนวิธีสอน     แผนการสอนทฤษฎีและปฏิบัติให้เกิดความชำนาญในการสอน วิชาชีพ มีการใช้กลวิธีและเทคนิคการสอนตามแนวการศึกษาแผนใหม่ในด้านเทคนิคศึกษาและฝึกให้นักศึกษาทั้งกลุ่มมีส่วนร่วมในการสอนนั้นๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการสอนช่างเทคนิค  เลือกหัวข้อสอนเนื้อหาสั้นๆ  เตรียมบทเรียน  สื่อการสอนอุปกรณ์การสอนต่างๆตลอดจนขั้นตอนวิธีสอน     แผนการสอนทฤษฎีและปฏิบัติให้เกิดความชำนาญในการสอน วิชาชีพ มีการใช้กลวิธีและเทคนิคการสอนตามแนวการศึกษาแผนใหม่ในด้านเทคนิคศึกษาและฝึกให้นักศึกษาทั้งกลุ่มมีส่วนร่วมในการสอนนั้นๆ มองเห็นคุณค่าของการสอนช่างเทคนิค  อย่างมี ประสิทธิภาพ
ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับฝึกทักษะในการสอนช่างเทคนิค  เลือกหัวข้อสอนเนื้อหาสั้นๆ  เตรียมบทเรียน  สื่อการสอนอุปกรณ์การสอนต่างๆตลอดจนขั้นตอนวิธีสอน     แผนการสอนทฤษฎีและปฏิบัติให้เกิดความชำนาญในการสอน วิชาชีพ มีการใช้กลวิธีและเทคนิคการสอนตามแนวการศึกษาแผนใหม่ในด้านเทคนิคศึกษาและฝึกให้นักศึกษาทั้งกลุ่มมีส่วนร่วมในการสอนนั้นๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล นำเอาความรู้ความสามารถที่ศึกษาไปใช้ประโยชน์สูงสุด โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

1.1.6 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมและปฏิบัติงานตามกลุ่มใบประลอง 
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง อภิปรายกลุ่ม การนำเสนอ เน้นสอนเป็นกลุ่มกิจกรรม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.เข้าใจวิธีการสอนช่างเทคนิครูปแบบต่างๆ
2.เข้าใจขั้นตอนเตรียมความพร้อมของครูก่อนดำเนินการสอน
3.วิเคราะห์บทเรียนแล้วสร้างสื่อประกอบการสอน
4.มีทักษะในการสอนวิชาชีพตามแนวการศึกษาแผนใหม่
5.เข้าใจวิธีบำรุงรักษาอุปกรณ์การสอนและการใช้งาน
6.ปลูกฝังจิตสำนึกในการวางแผนการสอน  มองเห็นคุณค่าของความเป็นครูและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล 
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.2.1   การมอบให้นักศึกษา และการนำเสนอผลงาน ตามหัวข้อที่กำหนดให้ จัดทำสื่การสอน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม นำเสนอ
3.2.3   อภิปรายและสรุปผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  สอบปฏิบัติ
3.3.2   การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
การบรรยาย
               การบรรยายเชิงอภิปราย
               การระดมสมองและการอภิปรายกรณีศึกษา
               การสรุปประเด็นสำคัญหรือการนำเสนอ
               การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-study)
               การเรียนรู้จากการทำงาน (Work base learning)
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
2.5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
                           2.5.1.2    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
                           2.5.1.3    สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.5.2.1  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
                           2.5.2.2    ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
                           2.5.2.3    ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน
                           2.5.2.4    ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
      2.5.3.1       ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
                           2.5.3.2    ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
                           2.5.3.3    ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
                           2.5.3.4    จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
2.6.1.1  มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                           2.6.1.2    สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
2.6.2.1  สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
                           2.6.2.2    สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
                           2.6.2.3    สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
                           2.6.2.4    จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
                           2.6.2.5    สนับสนุนการทำโครงงาน
                           2.6.2.6    การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
2.6.3.1  มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
                           2.6.3.2    มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
                           2.6.3.3    มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
                           2.6.3.4    มีการประเมินโครงงานนักศึกษา
                           2.6.3.5    มีการประเมินนักศึกษาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ ุ6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 30022403 กลวิธีการสอนช่างเทคนิค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 9 17 20 20
2 ผลงานภาคปฏิบัติ - ปฏิบัติงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู - เขียนโครงการสอน+สื่อการสอน ตลอดภาคการศึกษา 20 30
3 การเข้าชั้นเรียนและความประพฤติ ตลอดภาคการศึกษา 10
      1. จำเนียร   ศิลปวานิช ;  หลักและวิธีการสอน    กรุงเทพฯ ;  เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์   พิมพ์ครั้งที่ 3
              2541 ,   303  หน้า
      2. ฉวีวรรณ   รมยานนท์ ;  เอกสารประกอบการสอนการพัฒนาวัสดุช่วยสอนทางวิศวกรรม   ภาควิชา
               ครุศาสตร์อุตสาหกรรม   สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  ม.ป.ป  ,  80  หน้า
      3 บุญเรือน   พึ่งผลพลู ผศ. ; เอกสารประกอบการสอน การวัดผลและการประเมินผลการศึกษา ตาก:
                สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  วิทยาเขตตาก   2540 ,   181  หน้า
     4. ประกันคุณภาพการศึกษา สนง. ; เอกสารประกันคุณภาพการศึกษา FM 06  สถาบันเทคโนโลยี              ราชมงคล
                 วิทยาเขตตาก  2545 ,  30  หน้า  
     5. ปิยศักดิ์   ตัณฑ์เจริญรัตน์ ; เอกสารประกอบการสอนหลักการอาชีวะและเทคนิคศึกษา  ตาก:   สถาบัน
                 เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตตาก  2546 ,  77  หน้า  
     6. วัฒนา   ผลทวี ;  เทคโนโลยีทางการศึกษา   โรงพิมพ์ประสิทธ์การพิมพ์  ตาก  2538 ,  450  หน้า
ไม่มี
1. http://www.onec.go.th                     (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ)
       2. http://www.moe.go.th                      (กระทรวงศึกษาธิการ)
       3. http://www.edunet.ksc.net               (โครงการเพื่อการศึกษา)
       4. http://www.oer.go.th                        (สำนักงานปฎิรูปการศึกษา)
       5. ตัวอย่างCAI สื่อการสอนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า/ การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก/เขียนแบบไฟฟ้า
หมายเหตุ     ตอนที่ 1 และตอนที่ 2      อาจารย์ผู้สอนสำเนาแจกให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน การสอน  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

แผนการสอน สื่อการสอน นำเสนอสื่อการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การนำเสนอสื่อการสอนของผู้เรียน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ