การออกแบบระบบไฟฟ้า

Electrical System Design

1.1 เข้าใจการวางแผนออกแบบระบบไฟฟ้า มาตรฐาน การป้องกันระบบไฟฟ้า
1.2 เข้าใจการเลือกสายไฟฟ้า ท่อร้อยสาย 
1.3 เข้าใจการหาขนาดวงจรย่อย  สายป้อน   สายประธาน
1.4 การออกแบบระบบไฟฟ้าสำหรับบ้านพักอาศัย อาคารชุด อาคารพาณิชย์และโรงงานอุตสาหกรรม
1.5 เข้าใจการต่อลงดิน และการปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
1.6 เข้าใจระบบป้องกันฟ้าผ่าสำหรับอาคาร
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป  รวมทั้งแนวคิดในการออกแบบแสงสว่าง ที่มีการพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัยต่อเทคโนโลยีในระบบต่างๆ
ศึกษามาตรฐานการออกแบบระบบไฟฟ้า การป้องกันและอุปกรณ์ป้องกันระบบไฟฟ้า  การวางแผนออกแบบระบบไฟฟ้า การกำหนดขนาดสายประธานไฟฟ้า สายป้อนและวงจรย่อย การออกแบบระบบไฟฟ้าสำหรับบ้านพักอาศัย อาคารชุด อาคารพาณิชย์และโรงงานอุตสาหกรรม เทคนิคการปรับปรุงเพาเวอร์เพาเวอร์แฟคเตอร์ ระบบการต่อลงดิน และระบบป้องกันฟ้าผ่าสำหรับอาคาร
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
                1.1.1   ไม่เน้น
                1.1.2    มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
                1.1.3    มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
                1.1.4    เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
       1.2.1 สังเกตุจากการแต่งกาย  การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม การจัดการห้องเรียน 
       1.2.3 ตรวจสอบการเข้าห้องเรียน การส่งงาน 
      1.3.1 จากการมีส่วนร่วมในการเรียน  การมีจิตสาธารณ  การส่งการบ้าน
      1.3.2. ตรวจสอบการเข้าห้องเรียน
      2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
      2.1.2    สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา       
      2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
     2.2.1 ให้นักศึกษามีส่วมร่วมในการเรียนการสอนโดยกำหนดให้นักศึกษาต้องอภิปรายในหัวข้อที่กำหนด
     2.2.2 นำเสนอแนวคิดในการออกแบบ
     2.2.3 นำเสนอวิธีการออกแบบ
      
2.3.1   การทดสอบย่อย
                2.3.2    การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
                2.3.3    ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
                2.3.4    ประเมินจากโครงงานที่นำเสนอ
                2.3.5    ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
      3.3.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
      3.3.2    มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
       3.2.1 กำหนดให้นักศึกษาออกแบบจากอาคารจริง
       3.2.2 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบ ให้นักศึกษาคิดออกแบบจากอาคารจริง
     3.3.1 การนำเสนอการออกแบบจากผลงานที่ทำ
     3.3.2 วิธีการคำนวณการออกแบบ
       4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
       4.1.2    มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
       4.1.3    สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
       4.1.4    สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
      4.2.1 ให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม
      4.2.2 นำเสนองานกลุ่ม
       4.3.1 จากการนำเสนอ
       4.3.2  จากการสังเกตุ  การทำงานในห้องเรียน
      5.1.1   ไม่เน้น
      5.1.2    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
      5.1.3   ไม่เน้น
       5.2.1 ให้นักศึกษาคำนวณเพื่อออกแบบระบบไฟฟ้า โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
       5.2.2 ส่งงานทาง Mail  
     5.3.1 จากผลการออกแบบ
     5.3.2 การการออกแบบโดยใช้โปรแกรม
         6.1.1   มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
        6.1.2    สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
     6.2.1 ให้นักศึกษาออกแบบระบบไฟฟ้าโดยใช่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยเป็นเดี่ยว และงานกลุ่ม
     6.2.1 ให้นักษาคำนวณการออกแบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
     6.3.1 งานจากการออกแบบ  ปริมาณงาน  แนวคิด
     6.3.2 จากเวลาที่กำหนดส่ง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 32022418 การออกแบบระบบไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-4 บทที่ 5-7 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 11 30% 30%
2 ทุกบท งานการออกแบบระบบไฟฟ้า ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 ทุกบท การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ลำดับ ชื่อหนังสือ ผู้แต่ง
1 การออกแบบระบบไฟฟ้า ประสิทธิ์  พิทยพัฒน์
2 การออกแบบระบบไฟฟ้า ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช
3 การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตาม มาตรฐานของการไฟฟ้า (ฉบับปรับปรุง) ลือชัย  ทองนิล
4  หลักการและเทคนิคการออกแบบระบบไฟฟ้า ศุลี  บรรจงจิต
5 คู่มือวิศวกรไฟฟ้า ลือชัย  ทองนิล 6 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย  ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)  
แบบอาคาร   แคตล็อก    โปรแกรมการออแบบแสงสว่าง
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย  มาตรฐานชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
    1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้       2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน       2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา       2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  แก้ไข
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้        3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน        3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้        4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร        4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้         5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4         5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง