ปฏิบัติการทดสอบวัสดุก่อสร้าง

Construction Materials Testing Laboratory

1.1 อธิบายคุณสมบัติทางกลของวัสดุภายใต้แรงกระทำได้
1.2 เข้าใจหลักการทดสอบของวัสดุ
1.3 ปฏิบัติการทดสอบของวัสดุได้
1.4 สามารถนำผลที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์ได้
เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป และให้มีการพัฒนากระบวนการผลิต
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับคุณสมบัติ มาตรฐานการใช้งาน การออกแบบ วิธีทดสอบวัสดุก่อสร้างและปฏิบัติการทดสอบวัสดุก่อสร้าง เช่น คอนกรีต ไม้ เหล็ก อิฐ กระจก พลาสติก โลหะไม่มีธาตุเหล็ก ในด้านการรับแรงต่างๆ เช่น แรงดึง แรงอัด แรงเฉือน แรงดัด และแรงบิด เป็นต้น
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม

                              7.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง อภิปรายกลุ่ม

                   3.เสนอความคิดในเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ
                              1. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน การตรงต่อเวลา ความมีวินัย และความรับผิดชอบพฤติ
                              2. ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
                              3. จัดทำเอกสารบันทึกการเข้าเรียน การส่งงาน
                              1. มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรม พื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
                                 2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติของเนื้อหาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
                                 3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
                                 4. สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม
                                  5. สามารถใช้ความรู้และทักษะในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
                             1. ใช้การสอนโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
                             2. มอบหมายให้ทำรายงาน
                             3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
                             1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
                             2. ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ สรุปประเด็นปัญหา และสามารถประยุกต์ความรู้แก้ปัญหาด้านสถิตยศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
                              1. สอนบรรยาย
                              2. ยกตัวอย่างโจทย์คำนวณ
                              3. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
                              1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ถึงปัญหาด้านสถิตยศาสตร์
                              2. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
                               1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
                               2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
                               3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน
                              1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์ปัญหาโจทย์
                              2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
                              1. ประเมินตนเอง และเพื่อน
                              2. ประเมินการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
                              3. ประเมินจากการตอบคำถาม
                             1. ทักษะการสื่อสาร พูด ฟัง เขียน
                             2. ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
                             3. ทักษะการนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาแก้ปัญหาโจทย์
                             4. ทักษะการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ค้นหาข้อมูล ตัวอย่างโจทย์
                              1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์
                               1. ประเมินผลการค้นคว้าของนักศึกษา
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
ให้นักศึกษาวางแผนการดำเนินงาน ทั้งด้านการบริหารเวลา การใช้เครื่องมือ มอบหมายให้นักศึกษาทำการทดลองเป็นกลุ่ม ให้นักศึกษาฝึกทักษะผ่านการทำงานเป็นกลุ่ม
พิจารณาผลการปฏิบัติการ ประเมินผลงานที่มอบหมายทั้งส่วนของรายงานการวิจัยและการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 33011407 ปฏิบัติการทดสอบวัสดุก่อสร้าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค 9 30%
2 สอบปลายภาค 17 35%
3 การนำเสนองาน และผลงานภาคปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 25%
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
                            1. เอกสารประกอบการสอนโดยผู้สอน
                            2. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
                            3. The American Society for Testing and Materials, ASTM Standards 2001
สื่อออนไลน์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
                    1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
                    2. ผลการเรียนของนักศึกษา
                    3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
                               1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                               2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
                          1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
                          2. ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
                            1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4