การจัดการความรู้

Knowledge Management

         1. มีความรู้ความเข้าใจในด้านความรู้ การจัดการความรู้ การพัฒนาและสร้างองค์ความรู้
         2. เข้าใจรูปแบบ วิธีการ กระบวนการในการจัดการความรู้
         3. มีทักษะในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการความรู้
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านการบริหารจัดการของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ศึกษาทฤษฎีและกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การสร้างสรรค์ความรู้ ทุนทางปัญญา ทฤษฎีวงจรการเรียนรู้ การจัดการการเปลี่ยนแปลง ระบบการจัดการความรู้และการประยุกต์ กรณีความสำเร็จของการจัดการความรู้
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
 
ความรับผิดชอบรอง
1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดพอประมาณความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดีและความชั่ว
ความรับผิดชอบหลัก
1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
กำหนดระเบียบลงโทษผู้ทุจริตในการสอบ
ประเมินจากเวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาและเวลาการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
 
ความรับผิดชอบหลัก
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์การและทรัพยากรมนุษย์
ความรับผิดชอบรอง
2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน
2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
 
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 
จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ
 
การทดสอบย่อย
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
ประเมินจากแผนธุรกิจหรือโครงการที่นำเสนอ
 
ความรับผิดชอบรอง
1. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและมีประสบการณ์เพื่อเกิดนวัตกรรม  กิจกรรม   หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ ๆ
3. สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยนำความรู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้
4.มีความกล้าในการติดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
ความรับผิดชอบหลัก
2. สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
 จัดให้มีกรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม
มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข
เน้นถึงศาสตร์และศิลป์ รวมถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน และให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอผลงานจริง
 
ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
ประเมินจากการทดสอบโดยการใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา
ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 
ความรับผิดชอบรอง
1.   มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
3.  มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
4. มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
ความรับผิดชอบหลัก
2.   มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
มอบหมายงานที่ต้องใช้การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
มอบหมายงานที่จะต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
 
ประเมินจากพฤติกรรมในการทำกิจกรรมระหว่างนักศึกษาในกลุ่ม
ประเมินจากผลงานของนักศึกษาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
 
ความรับผิดชอบรอง
1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจในทางธุรกิจ
2. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5. สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวคิดที่หลากหลาย
6. ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
7. ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและการดำเนินงาน
ความรับผิดชอบหลัก
4. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา โดยให้นักศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากการทดสอบ
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7
1 12011307 การจัดการความรู้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.4 * 2.1 * 2.2* 3.2* 4.2* 5.4* - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8, 17 40%
2 1.4 * 2.1 * 2.2* 3.2* 4.2* 5.4* - การทำกิจกรรมการจัดการความรู้โดยกลุ่ม - การนำเสนอ - การอภิปรายร่วมกัน 3, 6 10, 13, 16 1,2,4,5,7,8,11,12 30%
3 2.1* 2.2* 3.2* 4.2* 5.4* - ผลงานที่จัดส่งในการจัดทำกิจกรรม KM - การนำเสนอผลงานด้วยวาจา - การนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยี 16 20%
4 1.4* 4.2* - พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเรียน - กำหนดบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบในการทำกิจกรรมกลุ่ม ทุกสัปดาห์ 10%
ผศ.พรรณี สวนเพลง  เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมสำหรับการจัดการความรู้.  บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด,   2547.
วศิน  เพิ่มทรัพย์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ,  บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด,   2550.
วิจารณ์  พานิช การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ,  บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด,   2547.
โอภาส เอี่ยมศิริวงษ์  วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ,  บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด,   2550.
-
www.wikipedia.com
www.dusit.ac.th
www.nectec.or.th
www.ku.ac.th
 
     -การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     -การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
     -แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
     -ผลการสอบ
     -การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
     -การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
     -สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
     -การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
-การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
     -ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบในผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4