กลศาสตร์วิศวกรรม

Engineering Mechanics

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกล คิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมตต์ตัม
2.1 เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย ครอบคลุมต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
2.2 เพื่อให้รายวิชามีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความต้องการของนศ. และความต้องการของสถานประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต
2.3 เพื่อพัฒนารายวิชาและวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด
ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกล คิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมตต์ตัม
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ตามตาราง office hour หรือตามการนัดหมาย
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างถึงผลดีและผลเสีย
จิตพิสัยของนักศึกษาตลอดภาคการศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในกลศาสตร์เครื่องจักรกล เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญของกลศาสตร์เครื่องจักรกล ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ
2.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ โดยการใช้หลักการทางด้านกลศาสตร์วิศวกรรม
2.3.1 งานและการบ้าน
2.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
3.1.1 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ โดยการใช้หลักการทางด้านกลศาสตร์วิศวกรรม
3.3.1 งานและการบ้าน
3.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
4.1.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทางกลศาสตร์เครื่องจักรกลของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.2 รู้จักบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ โดยการใช้หลักการทางด้านกลศาสตร์วิศวกรรม
 
4.3.1 งานและการบ้าน
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวนและเครื่องมือทางกลศาสตร์เครื่องจักรกล เพื่อประกอบวิชาชีพทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกลที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ โดยการใช้หลักการทางด้านกลศาสตร์วิศวกรรม
5.3.1 งานและการบ้าน
ไม่มีการ mapping ในส่วนนี้
ไม่มีการ mapping ในส่วนนี้
ไม่มีการ mapping ในส่วนนี้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 TEDCC824 กลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 3.2 สอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 9 13 17 20% 20% 20% 20%
2 2.1, 2.2, 3.2 งานและการบ้าน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.2 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 R. C. Hibbeler. Engineering Mechanics: Statics. Prentice Hall.
1.2 R. C. Hibbeler. Engineering Mechanics: Dynamics. Prentice Hall.
2.1 J. L. Meriam, L. G. Kraige. Engineering Mechanics: Statics. John Wiley & Sons.
2.2 J. L. Meriam, L. G. kraige. Engineering Mechanics: Dynamics. John Wiley & Sons.
ตำรา เอกสาร โปรแกรม และเวปไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน Google or Youtube
โดยการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษาผ่านระบบออนไลด์ในปลายภาคการศึกษา จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
2.1 โดยการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษาผ่านระบบออนไลด์ในปลายภาคการศึกษา จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
2.2 ประเมินการสอนโดยพิจารณาจากผลการเรียน ผลการสอนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน หากนศ.ส่วนใหญ่มีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี อาจหมายความได้ว่า ใช้กลยุทธ์ในการสอนได้ดี
2.3 สังเกตุนศ.ในขณะที่ให้ทำแบบฝึกหัดในชั่วโมงเรียน หรือสังเกตจากการบ้านหรืองานที่นศ.ทำส่ง เพื่อพิจารณาถึงผลสัมฤทธิของการสอนในชั่วโมงก่อนหน้า
ทำการปรับปรุงการสอนเป็นรายสัปดาห์ โดยใช้ผลจากข้อ 2.3 เป็นตัวพิจารณา
ไม่มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ในรายวิชานี้
หลังจากสิ้นภาคการศึกษา ผู้สอนจะนำผลจากข้อ 1 และ 2 ของหมวดที่ 7 นี้ มาพิจารณาเพื่อจัดทำรายงานเอกสาร มคอ.5 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงรายวิชานี้ในภาคการศึกษาหน้าต่อไป