องค์ประกอบศิลป์เพื่อการออกแบบ

Artistic Composition for Design

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบศิลป์ องค์ประกอบศิลป์กับงาน ศิลปะและออกแบบ รูปทรงของผลงานศิลปะและออกแบบ เนื้อหาของผลงานศิลปะและออกแบบ วิธีการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและออกแบบ ทัศนธาตุ เอกภาพ ดุลยภาพ จังหวะ สัดส่วน เอกภาพของ ทัศนธาตุ หลักการออกแบบพื้นฐาน องค์ประกอบศิลป์เพื่อการออกแบบพื้นฐาน การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและออกแบบพื้นฐานเพื่อท้องถิ่น
1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสร้างสรรค์ศิลปะและออกแบบพื้นฐานได้ตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
 
2.1 ก่อนเปิดภาคเรียน ผู้สอนมีการวางแผนปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน คือ การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) หัวข้อ และรายละเอียดเนื้อหาจากแผนการสอนในหมวดที่ 5 เพื่อการจัดการความรู้ที่มุ่งพัฒนาการเรียนรู้ และการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา
 2.2 เมื่อเปิดภาคเรียนสัปดาห์ที่ 1 ผู้สอนยังไม่มีข้อมูลเบื้องต้นของนักศึกษาเนื่องจากเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ผู้สอนจึงศึกษาข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษาเรื่องทักษะพื้นฐานในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ แล้วมีการวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลมาปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้สอนได้ออกแบบไว้แล้วเพื่อให้มีความเหมาะสมกับนักศึกษา
 2.3 มีการบูรณาการงานวิจัยและการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความหมาย ที่มาและความสำคัญของการออกแบบองค์ประกอบศิลป์ หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ด้วยวัสดุและเทคนิควิธีการต่าง ๆ โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์
- ชั่วโมงการสอน 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
- อาจารย์ประจำรายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการของ
นักศึกษาเป็นเวลา 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือตามความเหมาะสมกับแนวทางการพัฒนาผลงานของนักศึกษา
- อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับห้องทำงาน ตารางสอน เวลาและการให้
คำปรึกษาผ่านสื่อออนไลน์ คือ e-learning และ/หรือ facebook
1.1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.1.2 มีวินัย มีความรับผิดชอบทั้งส่วนตนและส่วนรวม
1.1.3 มีความเสียสละ มีความรัก เมตตาและปรารถนาดีต่อผู้อื่น
1.1.4 มีจิตสาธารณะ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและสามารถทำงานเป็นทีมได้
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์กร
1.1.6 เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมถึงเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้อื่น
1.2.1 การอธิบาย
1.2.2 ตัวอย่างแทรกในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
1.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามเวลา
1.3.2 การประเมินผลจากการนำเสนองานที่มอบหมายและการอ้างอิงข้อมูลอย่างถูกต้อง
2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่สำคัญของเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.2 มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างงานสร้างสรรค์และออกแบบ
2.2.3 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อปฏิบัติงานออกแบบนิเทศศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2.4 สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมงานสร้างสรรค์และออกแบบ
2.2.5 สามารถบูรณาการความรู้กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.2.6 สามารถติดตามพัฒนาการทางนวัตกรรมงานสร้างสรรค์และออกแบบอย่างต่อเนื่อง
2.2.1 การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) คือ 1) การก าหนดปัญหา 2) การตั้งสมมุติฐาน 3) การรวบรวมข้อมูล 4) การวิเคราะห์ข้อมูล 5) กระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน 6) การนำผลงานไปใช้ ประโยชน์กับท้องถิ่น 7) การสรุปผล โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์คือ องค์ประกอบศิลป์ องค์ประกอบศิลป์กับงาน ศิลปะและออกแบบ รูปทรงของผลงานศิลปะและออกแบบ เนื้อหาของผลงาน ศิลปะและออกแบบ วิธีการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและออกแบบ ทัศนธาตุ เอกภาพ ดุลยภาพ จังหวะ สัดส่วน เอกภาพของทัศนธาตุ หลักการออกแบบ พื้นฐาน องค์ประกอบศิลป์เพื่อการออกแบบพื้นฐาน การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ และออกแบบพื้นฐานเพื่อท้องถิ่น
2.2.2 การสอนโดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นฐาน เป็นการบูรณาการงานวิจัยกับการเรียนการ
 สอนจากผลงานวิจัยของผู้สอน
2.3.1 การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความและประเมินข้อมูลเพื่อนำมาแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถรวบรวม วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหา
3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหางานสร้างสรรค์และออกแบบ
3.2.1 การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional
Strategies) โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งาน สร้างสรรค์คือการฝึกปฏิบัติการประยุกต์ความรู้และทักษะด้วยการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและออกแบบพื้นฐานเพื่อท้องถิ่น
3.3.1 การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนได้อย่างสร้างสรรค์
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีม มีการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทผู้นำและ
ผู้ร่วมทีมงาน
4.1.3 มีความเคารพและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลและวัฒนธรรม
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง วิชาชีพและสังคม
4.2.1 การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional
Strategies) โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและน ามาใช้ในกระบวนการวิจัย/งาน สร้างสรรค์คือ การสร้างสรรค์ผลงานที่มีการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์และน าเสนอผลงานที่เหมาะสม มีประโยชน์กับท้องถิ่น การปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
3.3.1 การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จ าเป็นต่องานสร้างสรรค์และออกแบบ
5.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาที่น าข้อมูลทางสถิติมาใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง การเขียน และการนำเสนอผลงาน
5.1.4 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
5.2.1 การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์คือ การนำทักษะการใช้เครื่องมือเกี่ยวกับงานสร้างสรรค์และออกแบบมา ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล กระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน นักศึกษา มีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์และ/หรือสื่อการสอน E-Learning การนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1) การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานด้วยทักษะทางงานสร้างสรรค์และออกแบบ
6.1.2 สามารถปฏิบัติงานด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี
6.1.3 สามารถประยุกต์ความรู้ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
6.2.1 การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งาน สร้างสรรค์คือ องค์ประกอบศิลป์เพื่อการออกแบบพื้นฐาน การสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะและออกแบบ การประยุกต์ความรู้ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน สร้างสรรค์ตามความสนใจ หรือตามแนวทางเฉพาะตัวของนักศึกษา
1) การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารฯ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTECC401 องค์ประกอบศิลป์เพื่อการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การประเมินพฤติกรรม การเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามเวลา และการอ้างอิงข้อมูลอย่างถูกต้อง 1-15 10%
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8,18 20%
3 ทักษะทางปัญญา ศึกษาค้นคว้าการนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานการอ่าน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ศึกษาค้นคว้าการนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานการอ่าน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 ทักษะการวิเคราะห์ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ศึกษาค้นคว้าการนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานการอ่าน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
6 ทักษะพิสัย ศึกษาค้นคว้าการนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานการอ่าน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
ชลูด นิ่มเสมอ. (2544). องค์ประกอบของศิลปะ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร:ไทยวัฒนาพานิช
พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง. (2545). วิธีวิทยาการวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภรดี พันธุภากร. (2544). การวิจัยทางศิลปะและศิลปะประยุกต์. กรุงเทพมหานคร :
 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
นวลน้อย บุญวงศ์. (2539). หลักการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มาโนช กงกะนันทน์. (2549). ศิลปะการออกแบบ = Art of designing. พิมพ์ครั้งที่ 2.
              กรุงเทพมหานคร : Core Function.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2541). พจนานุกรมศิลปะ อังกฤษ-ไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
 กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
ฮาวกินส, จอห์น. (2552). เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เขามั่งคั่งจากความคิดกันอย่างไร. (แปลจาก The Creative Economy : How People Make Money form Ideas.โดย คุณากร วาณิชย์วิรุฬห์). กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิง.
ไม่มี
ไม่มี
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
 1.2 แบบสอบถามเพื่อประเมินผู้สอน และประเมินรายวิชา
2.1 ระดับผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การสัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อหาแนวทางพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยชั้นเรียน
มีคณะกรรมการสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบชิ้นงาน วิธีการให้คะแนนและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอนและ
รายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น คือ ปรับปรุงรายวิชาอย่างน้อยทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
และผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์