เทคโนโลยีอาหารพื้นบ้าน

Local Community Food Technology

อธิบายคำจำกัดความและความสำคัญของอาหารพื้นบ้าน สามารถจำแนกอาหารพื้นบ้านในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยได้ อธิบายคุณค่าทางโภชนาการอาหารพื้นบ้าน พฤกษเคมีผัก และสมุนไพรในอาหารพื้นบ้าน ความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นกับอาหารพื้นบ้านได้ มีความรู้ และทักษะปฏิบัติด้านเทคโนโลยีการแปรรูปที่เหมาะสมสำหรับอาหารพื้นบ้าน และสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้านได้ และเข้าใจหลักการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้าน
2.1 เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2.2 เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน
คำจำกัดความและความสำคัญของอาหารพื้นบ้าน การจำแนกอาหารพื้นบ้านในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย คุณค่าทางโภชนาการอาหารพื้นบ้าน พฤกษเคมีผัก และสมุนไพรในอาหารพื้นบ้าน ความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาท้องถิ่นกับอาหารพื้นบ้าน เทคโนโลยีการแปรรูปที่เหมาะสมสำหรับอาหารพื้นบ้าน การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้าน
Definition and importance of traditional foods; traditional foods characterization with different region of Thailand; nutritional of traditional foods; photochemical of vegetables and herbs in traditional foods; the relationship of traditional wisdom with traditional foods; an appropriate processing technology for traditional foods; the development and marketing for traditional food products.
3
š1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
š1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
š1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนแบบบรรยาย ใช้สื่อ เช่น คอมพิวเตอร์ power point
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม(Participatory Learning)
3. เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมทั้งใน/นอกมหาวิทยาลัยจัด
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
˜2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
š2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ใช้ Power point วีดีโอ
2. การสอนแบบปฏิบัติ ในแหล่งเรียนรู้เฉพาะด้าน
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลความก้าว หน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
š3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
š3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
š3.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
˜3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย
2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
˜ 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
š 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
š 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
2. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน การตอบข้อซักถามของอาจารย์และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
š5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
š5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
š 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
š 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม
˜ 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
š 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. ใช้ Power point
2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง เช่น การคำนวณเพื่อเตรียมสารเคมี หรือ การนำเสนอการทดลองด้วย Power point
˜6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. การสอนแบบปฏิบัติ การในห้องทดลอง
2. ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ/ศูนย์เรียนรู้
ประเมินจากความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด และการเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3 ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 6. ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3, 5 1, 3 4 1 6 1
1 BSCFT125 เทคโนโลยีอาหารพื้นบ้าน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.4 การทดสอบแต่ละหน่วยเรียน 2-7, 9-15 80%
2 3.3, 4.4, 1.5, การนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย รายงานประกอบ 8, 16 10%
3 1.1, 1.3, 1.4, 1.5 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชาคะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-8, 9-17 10%
2549. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 466 น.

เฉลิมพล ถนอมวงค์. 2557. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. สาขาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก, พิษณุโลก. 178 น.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2557. เอกสารการสอนชุดวิชา : กระบวนการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร : หน่วยเรียนที่ 1-7. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2557. เอกสารการสอนชุดวิชา : กระบวนการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร : หน่วยเรียนที่ 8-15. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.

ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ. 2558. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ลำปาง.
ไพโรจน์ วิริยะจารี. 2545. หลักการทางเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ . พิมพ์ครั้งที่ 2. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 436 น.
ศจี สุวรรณศรี. 2551. หลักการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส. คณะเกษตรและทรัพยากรสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. 155 น.
คงศักดิ์ ศรีแก้ว. 2556. การบริหารจัดการคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 247 น
ดาราวงษ์. 2558. การจัดการผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี. บริษัท ธนาเพลส จำกัด, กรุงเทพฯ. 330 น.
ทิพวรรณา งามศักดิ์. 2545. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 175 น.
คงเจริญเกียรติ และ สมพร คงเจริญเกียรติ. 2541. บรรจุภัณฑ์อาหาร. แพคเมทส์, กรุงเทพฯ. 358 น.
ยุทธนา พิมลศิริผล. 2553. เทคนิคการประเมินอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 123 น.
รุ่งนภา วิสิฐอุดรการ. 2540. การประเมินอายุการเก็บของอาหาร. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์, คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 169 น.
รุ่งนภา วิสิฐอุดรการ. 2549. อายุการเก็บผลิตภัณฑ์, ใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร, หน้า -128. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 466 น.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์, สมชาย หิรัญกิตติ, จิรศักดิ์ จิยะจันทน์, ชวลิต ประภวานนท์, ณดา จันทร์สม และวลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์. 2540. การวิจัยตลาด. A. N. การพิมพ์, กรุงเทพฯ. 310 น.
อนุวัตร แจ้งชัด. 2544. เอกสารประกอบการสอนวิชา 054-355 : สถิติและการวางแผนการทดลองสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
Angle D. And V. Daniel. Design and Analysis of Experiments. Springer, New York. 740 p.
Anna V. A. Resurrection. 1998. Consumer Sensory Testing for Product Development. Aspen Publishers, Inc, Maryland. 254 p.
และข้อมูลที่เกี่ยวข้องจาก เวบไซต์ หรือ อินเทอร์เน็ต ตามความเหมาะสม
Web site องค์ความรู้ จากภาครัฐ เอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
http: //www.fda. moph .go. th
http://www.fda.com
http://www.nfi.or.th และหนังสืออื่นๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้อง
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ทวนสอบคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย หรือการทำวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ทวนสอบคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ