คลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล

Data Warehouse and Data Mining

เพื่อให้นักศึกษามีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม  สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคน  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำคลังข้อมูล  องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล  ตัวแบบข้อมูลพหุมิติ  การออกแบบและการพัฒนาคลังข้อมูล  สามารถใช้เครื่องมือต่างๆ ในการพัฒนาคลังข้อมูลและการประยุกต์ใช้คลังข้อมูลในองค์การ  เทคนิคการทำเหมืองข้อมูล  การสร้างกฎและตัวจำแนก  การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล  การจัดกลุ่มข้อมูล  สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือสำหรับการทำเหมืองข้อมูล และติดตามความก้าวหน้าของงานที่นำคลังข้อมูลและเหมืองข้อมูลไปใช้
เป็นการสอนครั้งแรก
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำคลังข้อมูล  องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล   ตัวแบบข้อมูลพหุมิติ  การออกแบบและการพัฒนาคลังข้อมูล  เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการพัฒนาคลังข้อมูล  และการประยุกต์ใช้คลังข้อมูลในองค์การ  เทคนิคการทำเหมืองข้อมูล  การสร้างกฎและตัวจำแนก  การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล  การจัดกลุ่มข้อมูล  การใช้เครื่องมือสำหรับการทำเหมืองข้อมูล
1 ชั่วโมง
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
   1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.7มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าห้องเรียนและส่งงานให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความรับผิดชอบต่อกระทำของตนเอง วิชาชีพ และสังคม โดยเน้นการไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่น
พิจารณาจากการส่งงานของนักศึกษาทั้งงานกลุ่มและเป็นรายบุคคลที่เป็นแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา การสังเกตพฤติกรรม การเรียน การแสดงออก และการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน การทำงานเดี่ยวและกลุ่ม การนำเสนอรายงานจากโจทย์ปัญหาโดยนำความรู้มาประยุกต์ใช้
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินผลจากแบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายให้นักศึกษา ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอ
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยฝึกกระบวนการคิดจากโจทย์ที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากตามเนื้อหาในรายวิชา การมอบหมายงานโดยสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาจากโจทย์
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เป็นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมในการแก้ไขปัญหา
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษา ต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล การนำเสนอรายงานโดยนำความรู้จากการเรียนมาประยุกต์ใช้
ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลาของนักศึกษา ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
การนำเสนองาน การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อทางเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCT209 คลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 2.1, 2.2 3.1, 3.4 5.1 - การสอบกลางภาคเรียน 9 20 %
2 1.2 2.1, 2.2 3.1, 3.4 5.1 - การสอบย่อย 11 10 %
3 1.2 2.1, 2.2 3.1, 3.3, 3.4 5.1, 5.2 - การสอบปลายภาคเรียน 17 30 %
4 1.2 2.1, 2.2, 2.4 3.1, 3.3, 3.4 4.1, 4.4 5.1, 5.2 - แบบฝึกหัด/งานที่มอบหมายให้นักศึกษา - การนำเสนอเทคนิคเหมืองข้อมูล ตลอดภาคการศึกษา 30 %
5 1.2 2.2, 2.4 3.1, 3.3, 3.4 4.1, 4.4 5.1, 5.2 - พฤติกรรมการเรียนรู้ ตลอดภาคการศึกษา 10 %
กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. การออกแบบและพัฒนาคลังข้อมูล (Data Warehouse). บริษัทเคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2546. กฤษณะ  ไวยมัย. คลังข้อมูลและการทำเหมืองข้อมูล (Data  Warehouse  and  Data  Mining).  เอกสารคำสอน  ภาควิชาคอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2550.   Pang Ning Tam. Introduction to Data Mining. Pearson Education Indochina, 2006.
-
-
- แบบประเมินผู้สอน
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
เป็นการสอนครั้งแรก
- ให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา  โดยมีคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบให้เป็นไปตามแผนการสอน
- มีการประเมินข้อสอบโดยคณะกรรมการทวนสอบในระดับหลักสูตร
เป็นการสอนครั้งแรก