วิศวกรรมความร้อนและของไหล

Thermo-Fluid Engineering

เพื่อศึกษาคุณสมบัติของสารในทางเทอร์โมไดนามิกส์และกลศาสตร์ของไหล ในด้านวิศวกรรมเกษตร
1.1 สามารถอธิบายสมบัติของงานและความร้อน  พื้นฐานการถ่ายเทความร้อนและการอนุรักษ์พลังงาน
1.2 สามารถอธิบายและวิเคราะห์  นิยามพื้นฐาน  ทางเทอร์โมไดนามิกส์และกฎข้อที่หนึ่ง   
1.3 สามารถอธิบายและวิเคราะห์สมการสภาวะและกฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์และการนำไปใช้ 
1.4 สามารถอธิบายและวิเคราะห์วัฎจักรทางอุณหพลศาสตร์  วัฎจักรคาร์โน   เอนโทรปี
1.5 เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางกลศาสตร์กับพฤติกรรมของของไหล
1.6 เพื่อเรียนรู้วิธีหลักการพื้นฐานและการคำนวณ  ทฤษฎีกลศาสตร์กับของไหล
1.7 เพื่อฝึกทักษะการคิด  การวิเคราะห์ปัญหา  และการนำทฤษฎีต่าง  ๆ   เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในรายวิชาที่ต่อเนื่อง
ศึกษาคุณสมบัติของสารในทางเทอร์โมไดนามิกส์และกลศาสตร์ของไหล สถิตศาสตร์ของไหล กฎทางเทอร์โมไดนามิกส์ พลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงาน วัฏจักรคาร์โนด สมการพลังงานและเบอร์นูลีสมการการสูญเสียของการไหลในท่อและวัดอัตราการไหลของของไหลภายในท่อ
Study of thermodynamic and fluid mechanics, statistic, a law of thermodynamics, energy , energy conversion and carnot cycle, Energy equation and Bernoulli's equation, equation of continuity and motion, similitude and dimensional analysis, steady incompressible flow.
วันอังคาร 17.00 – 18.00 น. และวันพุธ 15.00 – 17.00 น.
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2 นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.3 มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น 
1.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.4 พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
2.1มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.1 ใช้การสอนบรรยายแบบ Active Learning โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมและหาทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหรือภายในกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น
2.2 การสอนแบบ Hybrid learning การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
2.3 การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
 
 
2.1 การทดสอบย่อย
2.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.4 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.2สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.3สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ  เช่น การเกิดความร้อนในโรงเรือน การให้น้ำพืช การควบคุมตัวแปรต่างๆ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
3.1 มอบหมายงานกลุ่มเพื่อศึกษากรณีศึกษาพร้อมอภิปราย
3.2 การอภิปรายกลุ่มจากผลการศึกษาและดูงาน
3.3 ให้นักศึกษามีโอกาสได้สัมผัสกับงานจริง
3.1 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.2 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.2สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.4สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1 การกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม
4.2 การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
4.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.2 การตอบข้อซักถามของอาจารย์ และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
5.1สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.2สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
5.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.2 เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
 
5.1 จากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี
5.2 จากการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
 
 
 
 
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติที่แทรกอยู่ในชั้นเรียน (modeling)
2. อธิบายวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
1. ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
2. ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2. มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4. รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 1. มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 2. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 1. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 2. สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 4. มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 7. สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม 1. สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 ENGAG102 วิศวกรรมความร้อนและของไหล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,1.5, 4,1, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-8, 10-16 5%
2 1.3,1.5, 2.1, 2.3, 3.4, 4,1, 4.2, 5.2, 5.6 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1, 2.3, 3.4 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 3,5,11,13 40%
4 2.1, 2.3, 3.4 การสอบกลางภาค 8 15%
5 1.3,1.5, 2.1, 2.3, 3.4, 4,1, 4.2, 5.2, 5.6 การนำเสนองาน/การรายงาน 7 20%
6 2.1, 2.3, 3.4 การสอบปลายภาค 17 15%
รศ.วินัย  ศรีอำพร  ตำรา  วิชา  กลศาสตร์ของไหล  
ภัทรพรรณ  ประศาสน์สารกิจ.  เทอร์โมไดนามิกส์วิศวกรรมเคมี.  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  พ.ศ.2545
สุรวุฒิ  ประดิษฐานนท์ “ กลศาสตร์ของไหลเบื้องต้น”  บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด  พ.ศ.2531
B . G . Kyle .  Chemical And Process Thermodynamics .  New Jersey : Prentice Hall , Inc ., 
1999.
James E . A .  John and William L . Haberman  1988  , Inroduction to Fluid Mechanics , 
Prentice - Hall International ,  Inc . 
J . Winnick ,  Chemical Engineering Thermodynamics :An Introduction to
          Thermodynamics for Undergraduate Engineering Students .  Canada: John
         Wiley & Sons , Inc .,  1997.
J . M . Smith ,  H . C . Van Ness and M . M . Abbott .  Introduction to Chemical Engineering
Thermodynamics .  Singapore : McGraw - Hill , Inc .,  6  th ed .,  2001.
Linsley ,  R . K .  and Franzini ,  J . B .   1972  ,  Water - Resource Engineering  , McGraw –
Hill Boook Company
M . D . Koretsky .  Engineering and Chemical Thermodynamics .  USA : John 
         Wiley & Sons , Inc .,  2004.
Mironer , A .   1979  ,  Engineering Fluid Mechanics ,  Mc - Graw - Hill Book Company
Munson ,  b . R , et . al .   1990,Fundamentals of Fluid Mechanics ,  John & Sons , Inc . 
ข้อมูลทางอินเตอร์เนต
1.1 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.2 การทาแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียนที่ผู้สอนจัดทาขึ้นเพื่อเปิดโอกาศให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น
1.3 ข้อเสนอแนะจากช่องทางที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลประเมินจากความคิดเห็นของนักศึกษา
2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบรายงานวิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง